รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ลงประกาศฟรี => อื่น ๆ => ข้อความที่เริ่มโดย: itroom0016 ที่ กรกฎาคม 02, 2018, 09:42:16 AM
-
[img width=696,height=528]https://i0.wp.com/www.108news.net/wp-content/uploads/2018/07/554.jpg[/img]
ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)
ภาวะหัวใจโต (http://www.chularat.com/knowledge_detail.php?lang=en&id=432) เป็นภาวะที่หัวใจมีขนาดโตมากกว่าปกติ ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้จากภาพถ่ายเอกซเรย์ปอดสาเหตุที่ทำให้มีภาวะหัวใจโตนั้นมีได้หลายสาเหตุทั้งที่เป็นจากภาวะตามธรรมชาติ เช่น การตั้งครรภ์ เป็นต้น และเป็นจากตัวโรคหัวใจเองเช่น มีลิ้นหัวใจ (http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=11)ผิดปกติ,กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ,หัวใจเต้นผิดปกติรวมไปถึงเยื้อหุ้มหัวใจที่ผิดปกติ ภาวะหัวใจโตสามารถตรวจพบได้ทุกเพศทุกวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุแต่จะพบในประชากรที่สูงอายุมากกว่าวัยอื่นๆ อันเนื่องมาจากผู้สูงอายุจะพบว่ามีความเสื่อมของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและเซลล์ต่างๆ ของร่างกายและในผู้สูงอายุมักมีโรคประจำตัวร่วมหลายโรคอีกด้วย
หัวใจโตมีอาการอย่างไร ?
ในระยะแรกของภาวะหัวใจโต (http://www.chularat.com/knowledge_detail.php?lang=en&id=432)มักจะไม่มีอาการแสดงสามารถตรวจพบได้จากการภาพถ่ายเอกซเรย์ปอดหรือการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในผู้ป่วยบางรายอาจจะมีอาการเหนื่อยง่าย, ใจสั่น, บวมหรือเจ็บแน่นหน้าอก
หัวใจโตเกิดจากสาเหตุใด ?
มีสภาวะหลายอย่างที่ทำให้หัวใจโตเช่นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงหรือภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายเช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ในเด็กจะพบว่าหัวใจพิการแต่กำเนิดเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย หัวใจวายเฉียบพลันและหัวใจเต้นผิดปกตินั้นสามารถเกิดภาวะหัวใจ (http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=11)โตได้
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หัวใจโต- ความดันโลหิตสูง[/*]
- ประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะญาติสายตรง (พ่อ แม่ พี่น้องท้องเดียวกัน)[/*]
- หลอดเลือดหัวใจตีบ[/*]
- หัวใจพิการแต่กำเนิด[/*]
- ลิ้นหัวใจผิดปกติ[/*]
- กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน[/*]
- การใช้สารเสพติดเช่น สูบบุหรี่, การติดสุราและสารเสพติดให้โทษชนิดอื่นๆ[/*]
การรักษาการรักษาภาวะหัวใจโตนั้นจะขึ้นกับสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดภาวะหัวใจโตเป็นหลัก การรักษานั้นแบ่งง่ายๆเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะหัวใจโตเช่น หมั่นตรวจเช็คความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ, ออกกำลังกายเป็นประจำ, งดบุหรี่และสุรา หากมีภาวะหัวใจโตแล้วการรักษาจะมีทั้งการรับประทานยา, สวนหลอดเลือดหัวใจ, จี้ไฟฟ้าหัวใจและผ่าตัดทั้งนี้ขึ้นกับอาการ, อาการแสดงและโรคหัวใจ (http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=11)นั้นๆเป็นหลัก[/color]
-
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ (http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=17) ระบบทางเดินปัสสาวะของคนเราประกอบด้วย ไต (Kidney) ท่อไต (Ureter) 2 ข้าง กระเพาะปัสสาวะ (Bladder) และท่อปัสสาวะ (Urethra) ไตทำหน้าที่กรองของเสียออกในรูปปัสสาวะ ส่งผ่านท่อไตไปยังกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=17