รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ลงประกาศฟรี => บ้านและที่ดิน => ข้อความที่เริ่มโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 13, 2024, 07:40:24 AM

หัวข้อ: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 13, 2024, 07:40:24 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 15, 2024, 06:16:02 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 26, 2024, 02:49:00 AM

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 27, 2024, 02:18:08 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 27, 2024, 06:44:21 AM
**สัตว์เหมาะแก่การหาเงิน**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2023/09/cover-web-01-1-1024x512.png)
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์เลี้ยงไว้เพื่อประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นเพื่อนคู่ใจ หรือเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในปัจจุบัน ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่สามารถนำมาเป็นอาชีพได้ หรือที่เรียกว่า "สัตว์เศรษฐกิจ" ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้อย่างดี

**ปัจจัยในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้

* **ความต้องการของตลาด** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความต้องการสูงในตลาด เพื่อที่จะขายผลผลิตได้ง่ายและได้ราคาดี
* **สภาพพื้นที่และภูมิประเทศ** จะต้องเลือกสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ
* **ความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยง** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยงอยู่บ้าง เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง

**ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจ**

ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่

* **สัตว์เลี้ยงสวยงาม** เช่น ปลาสวยงาม นกสวยงาม สัตว์เลื้อยคลานสวยงาม เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจเนื้อ** เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจนม** เช่น วัว แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจไข่** เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจปีก** เช่น เป็ด ห่าน เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจขน** เช่น แกะ แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจหนัง** เช่น วัว หมู แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจน้ำ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ** ก่อนตัดสินใจเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด รวมถึงความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่ เพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการเลี้ยง
* **ดูแลสัตว์อย่างเอาใจใส่** สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องมีการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เจริญเติบโตและแข็งแรง
* **ป้องกันโรคระบาด** โรคระบาดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในการเลี้ยงสัตว์ ควรป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้สัตว์ป่วยหรือตาย

สัตว์เศรษฐกิจเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี หากศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ ก็สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจและสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/)
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/)
รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 02:01:23 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 02:28:46 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (http://"https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 02:30:30 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 03:10:20 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 04:46:14 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 06:12:09 AM
**เลี้ยงปลากัด ปลาสวยงามที่เลี้ยงง่าย เลี้ยงสนุก**
(https://shopee.co.th/blog/wp-content/uploads/2021/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9F%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%99_%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A5.jpg)
ปลากัดเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน ด้วยความที่เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อสภาพอากาศ และมีความดุดัน ทำให้ปลากัดเป็นที่นิยมทั้งในกลุ่มผู้เลี้ยงปลาสวยงามและกลุ่มผู้เลี้ยงปลากัดเพื่อแข่งขัน

**วิธีการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

* **การเตรียมอุปกรณ์**

อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

    * โหลแก้วหรือตู้ปลา
    * หินกรวดหรือวัสดุรองพื้น
    * ปั๊มน้ำ
    * เครื่องกรองน้ำ
    * เครื่องปรับอุณหภูมิ (หากต้องการ)

* **การเตรียมน้ำ**

น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส ควรเปลี่ยนน้ำทุกสัปดาห์ หรือเมื่อน้ำเริ่มมีตะกอน

* **การให้อาหาร**

ปลากัดเป็นปลากินเนื้อ ควรให้อาหารปลากัดเป็นอาหารสด เช่น ลูกน้ำ ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับปลากัด

* **การดูแลรักษา**

ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ หากพบอาการผิดปกติควรรีบรักษาทันที

**ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด**

ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

* **น้ำ** น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิที่เหมาะสม
* **อาหาร** ควรให้อาหารปลากัดอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ
* **สภาพแวดล้อม** ควรวางโหลแก้วหรือตู้ปลาไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง
* **โรคและศัตรูพืช** ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและศัตรูพืช

**ข้อดีของการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลาย**
* **เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสัตว์**
* **เป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างรายได้เสริม**

**สรุป**

การเลี้ยงปลากัดเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย ๆ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงปลากัดเพิ่มเติม เพื่อนำไปเลี้ยงปลากัดให้สวยงามและแข็งแรง
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/)
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/)
รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 06:34:18 AM
ลวดหนาม มีกี่ประเภท
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97.jpg)
ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/4.jpg)
ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/pngtree-rusty-barbed-wire-security-fence-sky-photo-image_1259256.jpg)
อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 28, 2024, 07:09:37 AM
**ปลูกพืชในน้ำ ง่าย สะดวก ปลอดสารพิษ**
(https://f.ptcdn.info/749/064/000/ptwkeh3n7GJ8p6Bvafd-o.jpg)
การปลูกพืชในน้ำเป็นเทคนิคการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน โดยนำรากของพืชมาแช่อยู่ในน้ำที่ผสมสารละลายอาหารพืช การปลูกพืชในน้ำมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **ประหยัดพื้นที่** การปลูกพืชในน้ำไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่มาก สามารถปลูกได้ในพื้นที่จำกัด เช่น บนระเบียง บนโต๊ะ หรือแม้แต่ในห้องน้ำ
* **สะดวกในการดูแลรักษา** ไม่จำเป็นต้องพรวนดินหรือกำจัดวัชพืช เพียงแค่เติมน้ำและสารละลายอาหารพืชให้เพียงพอ
* **ปลอดสารพิษ** การปลูกพืชในน้ำไม่ใช้สารเคมีในการปลูก จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค

**วิธีการปลูกพืชในน้ำ**

การปลูกพืชในน้ำสามารถทำได้หลายวิธี ที่นิยมกัน ได้แก่

* **การปลูกพืชในแก้วน้ำ** เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด เพียงแค่นำต้นกล้าหรือเมล็ดพืชมาแช่ไว้ในแก้วน้ำที่ผสมสารละลายอาหารพืช
* **การปลูกพืชในกระถางไฮโดรโปนิกส์** เป็นวิธีที่สะดวกและสวยงาม กระถางไฮโดรโปนิกส์มีหลายรูปแบบให้เลือก วัสดุที่ใช้ปลูกพืชในกระถางไฮโดรโปนิกส์ ได้แก่ หินภูเขาไฟ หินกรวด หินโรย หรือวัสดุสังเคราะห์
* **การปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์** เป็นระบบการปลูกพืชในน้ำที่มีอุปกรณ์และการควบคุมที่ซับซ้อนกว่าการปลูกพืชในแก้วน้ำหรือกระถางไฮโดรโปนิกส์ ระบบไฮโดรโปนิกส์มีหลายประเภทให้เลือก ที่นิยมกัน ได้แก่ ระบบหยด ระบบน้ำวน ระบบน้ำนิ่ง เป็นต้น

**พืชที่ปลูกในน้ำได้**

พืชที่ปลูกในน้ำได้มีหลายชนิด ที่นิยมปลูก ได้แก่

* **ผักใบ** เช่น ผักกาดหอม ผักบุ้งจีน ผักชี ต้นหอม คะน้า เป็นต้น
* **ผักผลไม้** เช่น แตงกวา มะเขือเทศ มะเขือยาว เป็นต้น
* **ไม้ประดับ** เช่น เศรษฐีเรือนใน ว่านหางจระเข้ เฟิร์น เป็นต้น

**การดูแลรักษาพืชที่ปลูกในน้ำ**

การดูแลรักษาพืชที่ปลูกในน้ำมีดังนี้

* **เปลี่ยนน้ำ** ควรเปลี่ยนน้ำทุก 2-3 วัน หรือเมื่อน้ำเริ่มมีตะกอน
* **เติมสารละลายอาหารพืช** ควรเติมสารละลายอาหารพืชตามคำแนะนำบนฉลาก
* **แสงแดด** พืชที่ปลูกในน้ำต้องการแสงแดดเพียงพอ ควรวางกระถางหรือแก้วน้ำปลูกพืชในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง

การปลูกพืชในน้ำเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย ๆ เหมาะสำหรับผู้ที่มีพื้นที่จำกัดหรือต้องการปลูกพืชปลอดสารพิษ การปลูกพืชในน้ำเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์มากมาย นอกจากจะทำให้เรามีพืชผักสด ๆ ไว้รับประทานแล้ว ยังทำให้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการปลูกพืชอีกด้วย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"https://vinemanfence.com/")  รั้วลวดหนาม  (http://"https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 29, 2024, 02:09:10 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 02, 2024, 01:55:17 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 02, 2024, 06:10:23 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 02, 2024, 06:52:14 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 02, 2024, 07:17:24 AM
ปลูกป่า คืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับผืนดิน
(https://static.thairath.co.th/media/dFQROr7oWzulq5Fa5B24cqBFtsKKFiCX1FSZPheHNQ1QXJmqPCu4XILrQNQtNv9YREj.jpg)
การปลูกป่าเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของโลก ต้นไม้เป็นสิ่งมีชีวิตที่ช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และผลิตออกซิเจนให้กับโลก อีกทั้งยังช่วยรักษาความชุ่มชื้นของดินและป้องกันการกัดเซาะดิน นอกจากนี้ ต้นไม้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิดอีกด้วย

ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักมาจากการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม และที่อยู่อาศัย ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติต่างๆ ตามมามากมาย เช่น ปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ปัญหาอุทกภัย และปัญหาภัยแล้ง

การปลูกป่าจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้น การปลูกป่าสามารถช่วยฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่เสียหายให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับโลกอีกด้วย

ประโยชน์ของการปลูกป่า

การปลูกป่ามีประโยชน์มากมายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของโลก ดังนี้

ช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และผลิตออกซิเจนให้กับโลก
ช่วยรักษาความชุ่มชื้นของดินและป้องกันการกัดเซาะดิน
ช่วยรักษาสมดุลของวัฏจักรน้ำ
ช่วยเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด
ช่วยป้องกันน้ำท่วมและดินถล่ม
ช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับโลก
วิธีการปลูกป่า

การปลูกป่าสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

การปลูกป่าด้วยเมล็ด
การปลูกป่าด้วยกล้าไม้
การปลูกป่าด้วยกิ่งตอนหรือทาบกิ่ง
การปลูกป่าด้วยวิธีการขุดหลุมปลูก
การปลูกป่าด้วยวิธีการปลูกแบบถาวร
การเลือกวิธีการปลูกป่าที่เหมาะสมนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพภูมิประเทศ สภาพดิน ชนิดของต้นไม้ และเป้าหมายของการปลูกป่า

การปลูกป่า สามารถทำได้ทุกคน

การปลูกป่าเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่จำกัดเพศ อายุ หรือฐานะ เราสามารถมีส่วนร่วมในการปลูกป่าได้ดังนี้

เข้าร่วมกิจกรรมปลูกป่าที่จัดโดยหน่วยงานต่างๆ
ปลูกป่าด้วยตัวเองที่บ้านหรือในบริเวณใกล้เคียง
บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนโครงการปลูกป่า
การปลูกป่าเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของโลก ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการปลูกป่าได้ เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับผืนดินและสร้างโลกที่ยั่งยืนให้กับคนรุ่นต่อไป

โปรโมชั่นสำหรับคุณลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 02, 2024, 08:19:40 AM
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น

(https://www.bkkcitismart.com/stocks/news/d700x700/tu/fl/fmqbtufl95/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.jpg)

ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 02, 2024, 09:04:53 AM
**เลี้ยงสุนัข เพื่อนคู่ใจ มิตรแท้**
(https://img.kapook.com/u/chatralak/Home/Condo/dog.jpg)
สุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่แสนรู้ เชื่อง และสามารถเป็นเพื่อนคู่ใจได้เป็นอย่างดี การเลี้ยงสุนัขเป็นกิจกรรมที่สร้างความเพลิดเพลินและความสุขให้กับเจ้าของเป็นอย่างมาก

**การเตรียมการเลี้ยงสุนัข**

ก่อนเลี้ยงสุนัขควรเตรียมการดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสุนัข** ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสายพันธุ์สุนัข นิสัยและความต้องการพื้นฐานของสุนัข เพื่อให้สามารถเลี้ยงสุนัขได้อย่างเหมาะสม
* **เตรียมความพร้อมด้านสถานที่** ควรเตรียมพื้นที่สำหรับเลี้ยงสุนัขให้เพียงพอกับขนาดของสุนัข
* **เตรียมอุปกรณ์สำหรับเลี้ยงสุนัข** ควรเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับเลี้ยงสุนัข เช่น อาหาร น้ำดื่ม ชามอาหาร ชามน้ำ เปลนอน ของเล่น เป็นต้น

**การดูแลรักษาสุนัข**

การดูแลรักษาสุนัขสามารถทำได้ดังนี้

* **ให้อาหารสุนัข** ควรให้อาหารสุนัขอย่างสม่ำเสมอ อาหารสุนัขควรมีครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่
* **ให้น้ำดื่มสุนัข** ควรให้น้ำดื่มสุนัขอย่างสะอาดและเพียงพอ
* **พาสุนัขไปเดินเล่น** ควรพาสุนัขไปเดินเล่นอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สุนัขได้ออกกำลังกายและผ่อนคลาย
* **ฝึกสอนสุนัข** ควรฝึกสอนสุนัขให้เชื่อฟังคำสั่ง เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
* **พาสุนัขไปตรวจสุขภาพ** ควรพาสุนัขไปตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย

**ข้อดีของการเลี้ยงสุนัข**

* เป็นสัตว์เลี้ยงที่แสนรู้ เชื่อง และสามารถเป็นเพื่อนคู่ใจได้เป็นอย่างดี
* สามารถช่วยปกป้องเจ้าของจากอันตรายได้
* สามารถช่วยบำบัดความเครียดและโรคซึมเศร้าได้
* สามารถนำสุนัขไปฝึกฝนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือต่างๆ เช่น ตำรวจ ทหาร กู้ภัย เป็นต้น

**ข้อเสียของการเลี้ยงสุนัข**

* ต้องการการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ
* อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านมลภาวะได้ เช่น เสียงเห่า กลิ่นมูลสุนัข เป็นต้น
* อาจก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาได้ เช่น ค่าอาหาร ค่าน้ำ ค่ายา เป็นต้น

**ช่องทางการหาสุนัขมาเลี้ยง**

สามารถหาสุนัขมาเลี้ยงได้จากแหล่งต่างๆ ดังนี้

* ซื้อจากฟาร์มสุนัข
* รับเลี้ยงจากสถานสงเคราะห์สัตว์
* หามาเลี้ยงจากเพื่อนหรือญาติ

การเลี้ยงสุนัขเป็นกิจกรรมที่สร้างความเพลิดเพลินและความสุขให้กับเจ้าของเป็นอย่างมาก เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงสุนัขให้มีความสุขได้

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"https://vinemanfence.com/")  รั้วลวดหนาม  (http://"https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 03, 2024, 02:26:08 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 03, 2024, 02:40:28 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 03, 2024, 04:25:17 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 03, 2024, 06:11:57 AM
**ปลูกมะม่วงเบา**
(https://fy.lnwfile.com/_/fy/_raw/ht/8m/up.jpg)
มะม่วงเบาเป็นผลไม้ที่มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน นิยมนำมารับประทานสด ใส่ยำ ใส่น้ำพริก หรือทำเป็นมะม่วงเบาแช่อิ่ม มะม่วงเบามีถิ่นกำเนิดในภาคใต้ของประเทศไทย ปลูกได้ดีในสภาพอากาศร้อนชื้น

**การเตรียมพื้นที่ปลูก**

การเตรียมพื้นที่ปลูกมะม่วงเบา มีดังนี้

* เลือกพื้นที่ที่มีแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
* ปรับพื้นที่ให้เรียบเสมอกัน
* ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักเพื่อบำรุงดิน
* ทำร่องหรือหลุมสำหรับปลูกมะม่วงเบา ระยะห่างระหว่างต้น 5-6 เมตร ระยะห่างระหว่างแถว 6-7 เมตร

**การเลือกพันธุ์มะม่วงเบา**

พันธุ์มะม่วงเบาที่นิยมปลูก ได้แก่

* พันธุ์เบาปราณบุรี
* พันธุ์เบานครปฐม
* พันธุ์เบาสุราษฎร์ธานี
* พันธุ์เบาสงขลา

**วิธีการปลูกมะม่วงเบา**

การปลูกมะม่วงเบามี 2 วิธี คือ

* **การปลูกมะม่วงเบาด้วยเมล็ด**

นำเมล็ดมะม่วงเบาที่แก่จัดมาเพาะในถุงเพาะชำ ใช้เวลาเพาะประมาณ 3-4 เดือน เมื่อต้นกล้ามีความสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร จึงย้ายปลูกลงแปลง

* **การปลูกมะม่วงเบาด้วยต้นกล้า**

เลือกต้นกล้ามะม่วงเบาที่มีอายุประมาณ 6-12 เดือน ต้นกล้ามีความสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร ปลูกลงแปลงตามระยะห่างที่กำหนด

**การดูแลรักษามะม่วงเบา**

การดูแลรักษามะม่วงเบา มีดังนี้

* **การให้น้ำ**

รดน้ำมะม่วงเบาอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน

* **การให้ปุ๋ย**

ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักปีละ 2 ครั้ง ครั้งแรกในช่วงต้นฤดูฝน ครั้งที่สองในช่วงปลายฤดูฝน

* **การตัดแต่งกิ่ง**

ตัดแต่งกิ่งมะม่วงเบาปีละ 1 ครั้ง ในช่วงฤดูหนาว

* **การป้องกันศัตรูพืชและโรคพืช**

หมั่นตรวจดูมะม่วงเบาเป็นประจำ หากพบศัตรูพืชหรือโรคพืช ให้ใช้สารเคมีป้องกันกำจัดตามคำแนะนำ

**การเก็บเกี่ยวมะม่วงเบา**

มะม่วงเบาจะเริ่มออกดอกในช่วงฤดูหนาว ผลมะม่วงเบาจะสุกในช่วงฤดูร้อน มะม่วงเบาสุกจะมีเปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมเขียว ผลมะม่วงเบาจะรับประทานได้สดหรือนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้

**เคล็ดลับการปลูกมะม่วงเบาให้ได้ผลดี**

* เลือกพันธุ์มะม่วงเบาที่ทนทานต่อสภาพอากาศและศัตรูพืช

* ใส่ปุ๋ยบำรุงดินอย่างสม่ำเสมอ

* รดน้ำอย่างสม่ำเสมอ แต่อย่ารดน้ำมากเกินไป

* ตัดแต่งกิ่งอย่างสม่ำเสมอ

* หมั่นตรวจดูมะม่วงเบาเป็นประจำ หากพบศัตรูพืชหรือโรคพืช ให้ใช้สารเคมีป้องกันกำจัดตามคำแนะนำ

การปลูกมะม่วงเบาเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ไม่ยาก มะม่วงเบาเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์และรับประทานได้หลากหลาย การปลูกมะม่วงเบานอกจากจะได้มะม่วงเบาที่รับประทานสดแล้ว ยังช่วยเสริมสร้างรายได้อีกด้วย
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"https://vinemanfence.com/")  รั้วลวดหนาม  (http://"https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 03, 2024, 06:47:14 AM
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น

(https://www.bkkcitismart.com/stocks/news/d700x700/tu/fl/fmqbtufl95/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.jpg)

ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 03, 2024, 08:01:18 AM
ปลูกผักหลังบ้าน
(https://www.naibann.com/wp-content/uploads/2020/07/small-eatable-garden-in-backyard-by-arsarpon-cover.jpg)
การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

ประโยชน์ของการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

เป็นแหล่งวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย ผักสดอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม เหล็ก เป็นต้น วิตามินและแร่ธาตุเหล่านี้มีส่วนช่วยในการบำรุงร่างกาย เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันโรคต่างๆ
ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเรื้อรัง ผักมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยป้องกันเซลล์ไม่ให้ถูกทำลายจากอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น
ช่วยลดน้ำหนัก ผักมีกากใยสูง ช่วยทำให้รู้สึกอิ่มเร็ว จึงช่วยลดปริมาณอาหารและแคลอรีที่รับประทานเข้าไป ส่งผลให้น้ำหนักลดลง
เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลายและสร้างความสุข การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย และสร้างความสุขให้กับตนเองและครอบครัว
ขั้นตอนการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
เตรียมดิน ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
หว่านหรือปลูกเมล็ด หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช
ผักที่ปลูกง่าย

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก

ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา
การทำสวนปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"https://vinemanfence.com/")  รั้วลวดหนาม  (http://"https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 04, 2024, 02:00:09 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 04, 2024, 02:53:56 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 04, 2024, 03:33:51 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 04, 2024, 06:06:13 AM
การปลูกผักสวนครัว
(https://www.kasetsanjorn.com/wp-content/uploads/2022/03/Post_Web_%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A7_Content.jpg)
การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ช่วยให้มีผักสด ๆ รับประทานเอง และยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยลดมลภาวะอีกด้วย

การปลูกผักสวนครัวสามารถทำได้หลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับพื้นที่และงบประมาณที่มี หากมีพื้นที่จำกัด การปลูกผักสวนครัวในกระถางหรือภาชนะขนาดเล็กก็เป็นทางเลือกที่ดี แต่หากมีพื้นที่เพียงพอ การปลูกผักสวนครัวในแปลงดินก็เป็นทางเลือกที่ดีกว่า เพราะสามารถปลูกผักได้หลากหลายชนิดและปริมาณมากขึ้น

ขั้นตอนการปลูกผักสวนครัว

เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม พื้นที่สำหรับปลูกผักสวนครัวควรมีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน หากเป็นการปลูกผักสวนครัวในกระถางหรือภาชนะขนาดเล็ก ควรวางกระถางหรือภาชนะไว้ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึง
ปลูกผักสวนครัวในกระถาง
ปลูกผักสวนครัวในกระถาง
เตรียมดินให้เหมาะสม ดินสำหรับปลูกผักสวนครัวควรมีอินทรียวัตถุสูง ระบายน้ำได้ดี ดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวเป็นดินที่เหมาะสมสำหรับปลูกผักสวนครัว หากดินมีสภาพไม่ดี ควรปรับปรุงดินโดยการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักก่อนปลูกผัก
เลือกเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้า เมล็ดพันธุ์และต้นกล้าเป็นปัจจัยสำคัญในการปลูกผักสวนครัว ควรเลือกเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าที่มีคุณภาพ แข็งแรง ปลอดโรค
ปลูกผัก การปลูกผักสามารถทำได้หลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของผัก การปลูกผักในแปลงดินสามารถทำได้โดยการขุดหลุมปลูกให้มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของผักที่ต้องการปลูก จากนั้นใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในหลุมเล็กน้อย แล้วนำผักลงปลูก รดน้ำให้ชุ่ม
ดูแลรักษา การดูแลรักษาผักสวนครัวที่สำคัญ ได้แก่ การรดน้ำ ใส่ปุ๋ย และกำจัดวัชพืช
การให้น้ำ ผักสวนครัวต้องการน้ำอย่างสม่ำเสมอ โดยควรให้น้ำอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง หากอากาศร้อนจัด ควรให้น้ำ 2-3 ครั้งต่อวัน

การใส่ปุ๋ย ผักสวนครัวต้องการปุ๋ยเพื่อเจริญเติบโต ควรใส่ปุ๋ยบำรุงดินอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับปลูกผักสวนครัว ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมี

การกำจัดวัชพืช วัชพืชเป็นศัตรูพืชที่สำคัญของผักสวนครัว ควรกำจัดวัชพืชเป็นประจำ โดยถอนวัชพืชออกให้หมด

การใส่ปุ๋ยบำรุงดิน ปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับปลูกผักสวนครัว ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมี

การเก็บเกี่ยว ผักสวนครัวพร้อมเก็บเกี่ยวเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ ผักแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการเก็บเกี่ยวที่แตกต่างกัน ควรสังเกตลักษณะของผักแต่ละชนิดเพื่อกำหนดเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม

ข้อควรระวังในการปลูกผักสวนครัว

ควรเลือกพื้นที่ปลูกผักที่ปลอดภัยจากสัตว์เลี้ยง สัตว์ต่างถิ่น หรือบุคคลที่ไม่ประสงค์ดี
ควรหมั่นตรวจดูผักสวนครัวเป็นประจำเพื่อสังเกตปัญหาศัตรูพืชและโรคพืช
หากพบปัญหาศัตรูพืชหรือโรคพืช ควรรีบแก้ไขโดยเร็ว
การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ไม่ยาก เพียงแค่ปฏิบัติตามขั้นตอนและข้อควรระวังข้างต้น ก็สามารถปลูกผักสวนครัวได้สำเร็จและได้ผักสด ๆ รับประทานเอง

โปรโมชั่นสำหรับคุณลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 04, 2024, 08:21:31 AM

**ดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอ**
(https://img.kapook.com/u/2023/Jarosphan/Home/Garden/55317/g04.jpg)
สวนหลังบ้านเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้

**1. รู้จักเครื่องมือและเลือกใช้ให้เหมาะสม**

เครื่องมือสำหรับดูแลสวนหลังบ้านมีหลายชนิด เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่ง จอบและเสียม ถังรดน้ำ เป็นต้น ควรเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการทำ เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่งสำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ จอบและเสียมสำหรับพรวนดิน ถังรดน้ำสำหรับรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

**2. รดน้ำต้นไม้อย่างสม่ำเสมอ**

ปริมาณน้ำที่ต้นไม้ต้องการขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ สภาพอากาศ และขนาดของต้นไม้ โดยทั่วไปควรรดน้ำต้นไม้วันละ 1-2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็น

**3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้**

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 01:51:09 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 02:31:20 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 03:33:22 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 04:07:17 AM
งานพื้นแบบต่างๆ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/PD-06.png)

โครงสร้างพื้น  (http://"https://contelmetaldeck.com/%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%86/") เป็นส่วนที่มีบริเวณกว้างของอาคาร จำเป็นต้องมีความแข็งแรง ทนทานพอที่จะรับน้ำหนักผู้คน และสิ่งของต่างๆภายในอาคาร รวมไปถึงต้องแข็งแรงพอที่จะรับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่างภัยพิบัติ แผ่นดินไหวที่อาจมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในอนาคต ซึ่งวิศวกรจะต้องมีการคำนวณและออกแบบให้ได้มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยของทุกคนภายในอาคาร สามารถเลือกใช้พื้นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้

งานพื้นแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

งานแผ่นพื้นกึ่งสำเร็จ
เป็นวิธีการนำแผ่นพื้นที่ผลิตจากโรงงานมาติดตั้งหน้างาน พาดบนคาน ผูกเหล็กเสริม และเทคอนกรีตทับหน้า สามารถเลือกใช้ได้ทั้งแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดแผ่นเรียบ ชนิดกลวง

งานแผ่นพื้นประกอบ
การใช้วัสดุแผ่นพื้นเหล็กรีดลอน หรือแผ่น Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/) ร่วมกับคอนกรีตทับหน้า แผ่นพื้นเหล็กสามารถทำหน้าที่เป็นแบบไปในตัว และไม่ต้องใช้ค้ำยันเยอะ ทำให้ประหยัดต้นทุนของการก่อสร้าง

งานพื้นหล่อในที่
เป็นงานพื้นแบบดั้งเดิม ต้องมีการตั้งแบบ ผูกเหล็กเสริม ก่อนจะเทคอนกรีตหล่อลงไป ต้องใช้ค้ำยันรับน้ำหนักจำนวนมาก รอเวลาคอนกรีตเซ็ทตัวค่อนข้างนาน ถึงจะรับน้ำหนักได้

อาคารแต่ละประเภทสามารถเลือกใช้งานระบบพื้นแบบตามความเหมาะ ขึ้นอยู่กับการออกแบบของสถาปนิก ความสวยงาม และความเป็นไปได้ในเชิงวิศวกรรม ความแข็งแรง การรับน้ำหนัก เป็นต้น งานก่อสร้างที่ดีจะไม่สร้างปัญหาให้กับผู้อาศัยในภายหลัง ดังนั้นควรหาข้อมูลความรู้ก่อนตัดสินใจเพื่อเลือกงานระบบพื้นที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

(รวมข้อดีของแผ่น Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/) ที่คนจะสร้างบ้านควรรู้)
Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87/)Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck/)

หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 06:04:36 AM
แผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/) คืออะไร
มาทำความรู้จักกับแผ่นพื้นเหล็กที่ใช้สำหรับงานพื้นกัน หลายคนอาจเคยได้ยิน Metal Deck, Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/) หรือบางทีใช้คำว่า Composite Steel Deck ถ้าเป็นคำไทยก็อาจจะเรียกว่าแผ่นสำเร็จรูปพื้นลอนเหล็ก ไม่ว่าจะเรียกว่าอะไรก็ตาม ความหมายก็คือแผ่นที่ใช้สำหรับงานพื้นโดยเฉพาะ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/PD-06.png)

งานพื้น หรือพื้นที่เรากำลังยืนหรือนั่งอยู่ตอนนี้ คือ หนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานของอาคาร ที่ทำหน้าที่รับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (น้ำหนักบรรทุกจร และน้ำหนักบรรทุกคงที่) พื้นเป็นโครงสร้างตามแนวราบของอาคาร ซึ่งรับน้ำหนักโดยตรง จากนั้นจึงถ่ายน้ำหนักไปสู่คานหรือเสา ซึ่งพื้นมีหลายประเภท ได้แก่ งานพื้นคอนกรีตหล่อในที่ แผ่นพื้นกึ่งสำเร็จรูป แผ่นพื้นเหล็ก และงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) เป็นต้น

แผ่น Metal Deck คือส่วนหนึ่งของงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) ที่ประกอบไปด้วยแผ่น Metal Deck และการเทคอนกรีตทับหน้า เมื่อคอนกรีตเซ็ทตัวก็จะได้งานระบบพื้นที่หน้าตาไม่ต่างจากแบบอื่น แต่ย่นระยะเวลาในการก่อสร้างได้มากกว่า ซึ่งแผ่น Metal Deck ผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีรีดขึ้นรูป และมีปุ่มนูน (Embossment) กระจายอยู่ตามสันของแผ่น ปุ่มนูนเหล่านี้ เป็นเหมือนตัวยึดเกาะไม่ให้แผ่นพื้นเหล็กกับคอนกรีตไถลตัวออกจากกัน ซึ่งตัวแผ่น Metal Deck นั้นเป็นทั้งแบบและเหล็กเสริมไปในตัว จึงลดการใช้เหล็กเสริมมากกว่างานพื้นแบบอื่น โดยแผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/) สามารถใช้กับโครงสร้างเหล็ก และโครงสร้างปูน หากใช้กับโครงสร้างเหล็กจะใช้กับ Stud ในการติดตั้ง ขณะที่ใช้แผ่นนี้กับโครงสร้างปูนจะติดตั้งกับเหล็กหนวดกุ้ง เหล็กที่ยื่นออกมาจากโครงสร้างเพื่อยึดชิ้นส่วนโครงสร้างที่หล่อหน้างาน สามารถใช้ได้ทั้งเหล็กข้ออ้อย/เหล็กกลม ขึ้นอยู่การรับแรง (สามารถดูข้อมูลตารางออกแบบน้ำหนักบรรทุกจร ที่นี่)

ปัจจุบันงานพื้นที่ใช้แผ่น Metal Deck ได้รับความนิยมแพร่หลายในการก่อสร้างหลายประเภท เพราะเป็นงานระบบพื้นที่สร้างได้อย่างรวดเร็ว แข็งแรง ประหยัดในเรื่องของไม้แบบและเหล็กเสริม เหมาะสำหรับอาคารทั่วไป โรงงาน ตึกสูง บ้านพักอาศัย และอื่นๆอีกมากมาย

ให้แผ่น Metal Deck เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในงานระบบพื้น สามารถสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องแบบกับทีมงาน ConTel Metal Deck ได้ที่ 083 699 6697 เรายินดีให้คำปรึกษาและพร้อมนำเสนอข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์งานก่อสร้างของคุณ

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 06:22:45 AM

แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้

ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 06:24:13 AM

แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:2048/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/20160907_120307-2048x1536.jpg)
ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 06:58:17 AM
**ปลูกผักสวนครัว ง่ายๆ ทำได้ที่บ้าน**
(https://img.kapook.com/u/2018/Jarosphan/Home/Garden/38330334/PP17.jpg)
การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นอกจากนี้ยังเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย แม้แต่ผู้ที่ไม่มีพื้นที่มากนักก็สามารถปลูกผักสวนครัวได้

**การเตรียมการ**

ก่อนเริ่มปลูกผักสวนครัว สิ่งแรกที่ต้องทำคือการเตรียมการ ดังนี้

* **เลือกพื้นที่ปลูก** พื้นที่ปลูกผักสวนครัวควรได้รับแสงแดดอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน หากมีพื้นที่จำกัด สามารถปลูกผักสวนครัวในกระถาง หรือปลูกบนระเบียงหรือหน้าต่างก็ได้
* **เตรียมดิน** ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย ระบายน้ำได้ดี สามารถปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
* **เลือกผักที่จะปลูก** เลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เช่น หากปลูกในกระถาง ควรเลือกผักที่ปลูกง่าย เช่น ผักสวนครัวยอดนิยม เช่น ผักบุ้ง คะน้า กะเพรา โหระพา ผักชี เป็นต้น

**ขั้นตอนการปลูก**

เมื่อเตรียมการเรียบร้อยแล้ว ก็สามารถเริ่มปลูกผักสวนครัวได้ ดังนี้

* **ลงเมล็ด** หากปลูกผักจากเมล็ด ควรหว่านเมล็ดลงบนดินที่เตรียมไว้ รดน้ำให้ชุ่ม และคลุมด้วยพลาสติกใสเพื่อช่วยในการงอกของเมล็ด
* **ปักชำ** หากปลูกผักจากต้นกล้า ควรนำต้นกล้าลงปลูกในกระถางหรือแปลงปลูก รดน้ำให้ชุ่ม

**การดูแลรักษา**

หลังจากปลูกผักสวนครัวแล้ว ควรดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ ดังนี้

* **รดน้ำ** ควรรดน้ำผักเป็นประจำทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
* **ใส่ปุ๋ย** ควรใส่ปุ๋ยให้กับผักทุกๆ 1-2 สัปดาห์ โดยใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
* **กำจัดวัชพืช** ควรกำจัดวัชพืชที่ขึ้นรอบๆ ผักเป็นประจำ เพื่อไม่ให้วัชพืชแย่งอาหารและน้ำจากผัก

**การเก็บเกี่ยว**

เมื่อผักเจริญเติบโตเต็มที่ก็สามารถเก็บเกี่ยวได้ วิธีการเก็บเกี่ยวผักขึ้นอยู่กับชนิดของผัก เช่น ผักบุ้ง คะน้า กะเพรา สามารถตัดยอดผักมารับประทานได้ ส่วนผักที่มีผลหรือหัว เช่น มะเขือ มะเขือเทศ ฟักทอง ก็สามารถเก็บเกี่ยวผลหรือหัวมารับประทานได้

**ประโยชน์ของการปลูกผักสวนครัว**

การปลูกผักสวนครัวมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **เป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ** ผักสดจากสวนครัวมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ
* **ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก** การปลูกผักสวนครัวทำให้สามารถมีผักสดๆ รับประทานได้เองโดยไม่ต้องซื้อ
* **เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์** การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และช่วยผ่อนคลายความเครียด

การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่ายและมีประโยชน์มากมาย หากใครสนใจก็สามารถเริ่มปลูกผักสวนครัวได้ตั้งแต่วันนี้

โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
 ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 07:34:41 AM
**สนิม**
(https://www.scimath.org/images/uploads/upload2/12_11.jpg)
สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 05, 2024, 08:29:08 AM
**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**
(https://shopee.co.th/blog/wp-content/uploads/2019/09/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94-1.jpg)
การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 09, 2024, 01:49:41 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 09, 2024, 02:38:24 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 09, 2024, 02:38:57 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 09, 2024, 04:04:16 AM
**สัตว์เหมาะแก่การหาเงิน**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2023/09/cover-web-01-1-1024x512.png)
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์เลี้ยงไว้เพื่อประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นเพื่อนคู่ใจ หรือเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในปัจจุบัน ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่สามารถนำมาเป็นอาชีพได้ หรือที่เรียกว่า "สัตว์เศรษฐกิจ" ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้อย่างดี

**ปัจจัยในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้

* **ความต้องการของตลาด** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความต้องการสูงในตลาด เพื่อที่จะขายผลผลิตได้ง่ายและได้ราคาดี
* **สภาพพื้นที่และภูมิประเทศ** จะต้องเลือกสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ
* **ความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยง** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยงอยู่บ้าง เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง

**ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจ**

ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่

* **สัตว์เลี้ยงสวยงาม** เช่น ปลาสวยงาม นกสวยงาม สัตว์เลื้อยคลานสวยงาม เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจเนื้อ** เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจนม** เช่น วัว แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจไข่** เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจปีก** เช่น เป็ด ห่าน เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจขน** เช่น แกะ แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจหนัง** เช่น วัว หมู แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจน้ำ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ** ก่อนตัดสินใจเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด รวมถึงความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่ เพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการเลี้ยง
* **ดูแลสัตว์อย่างเอาใจใส่** สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องมีการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เจริญเติบโตและแข็งแรง
* **ป้องกันโรคระบาด** โรคระบาดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในการเลี้ยงสัตว์ ควรป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้สัตว์ป่วยหรือตาย

สัตว์เศรษฐกิจเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี หากศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ ก็สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจและสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/)
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/)
รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 09, 2024, 06:15:40 AM
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น

(https://www.bkkcitismart.com/stocks/news/d700x700/tu/fl/fmqbtufl95/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.jpg)

ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 01:47:42 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 02:32:34 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 03:47:18 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 03:50:03 AM
**สนิม**
(https://www.scimath.org/images/uploads/upload2/12_11.jpg)
สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 06:08:17 AM
**สนิม**
(https://www.scimath.org/images/uploads/upload2/12_11.jpg)
สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 06:17:08 AM
(https://www.kwilife.com/public/uploads/blog/images/cb30f8824d2233d9bb2aef3d9c5c0eb7.jpg)
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)

ที่มา www.kwilife.com (http://www.kwilife.com)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 07:20:16 AM
รั้วตะแกรงเหล็กซิงค์อลู
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/03/LINE_ALBUM_%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99_%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92_10.jpg)
รั้วตะแกรงเหล็กซิงค์อลู
คุณสมบัติและลักษณะ
รั้วตะแกรงเหล็กสำเร็จรูปออกแบบพิเศษ เพิ่มความแข็งแรงทนทาน ติดตั้งง่าย สะดวก รวดเร็ว ผลิตจากลวดชุบซิงค์อลู (ผสมอลูมิเนียม 10%) ตามมาตรฐานยุโรป (BS EN) กผ่านการเชื่อมด้วยเครื่องจักรเทคโนโลยีสูง ทำให้ทุกจุดของรอยเชื่อมหลอมติดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน ตัวเสารั้วและฝาครอบออกแบบให้สี่เหลี่ยม ผลิตจากเหล็กชุบซิงค์เคลือบสีฝุ่นเพื่อเพิ่มอายุการใช้งาน อุปกรณ์ยึดตะแกรงเหล็กกับเสารั้วด้วยตัวยึดพิเศษ Spider ผลิตจากเหล็กชุบซิงค์และเคลือบสีฝุ่น พร้อมน๊อต (Security Bolt) ผลิตจากสแตนเลส ทำให้เสารั้วกับตะแกรงเหล็กยึดกันแน่นหนา แข็งแรง ไม่หลุด และทนสนิม
วิธีการใช้งาน
สามารถใช้งานได้หลากหลาย นิยมนำมาใช้ล้อมรั้วทางด่วน รั้วสนามบิน รั้วโรงงาน รั้วที่ดิน รั้วกั้นอาณาเขต หรือแม้แต่รั้วที่อยู่อาศัย
อายุการใช้งาน
อายุการใช้งานยาวนานเมื่อเทียบกับรั้วตะแกรงเหล็กทั่วไป อายุการใช้งานนาน 10 ปี
ข้อดี
แข็งแรงทนทาน และเหนียวกว่ารั้วตะแกรงเหล็ดทั่วไป
ลักษณะผิวของลวดมีความเรียบสม่ำเสมอ ทนสนิมมากกว่ารั้วตะแกรงเหล็กชุบซิงค์ทั่วไป 14 เท่า
สามารถทนทานสนิมได้ทุกสภาพอากาศ
มีระบบป้องกันความปลอดภัยในการถอด ทำให้มั่นใจได้ว่าเสารั้วและตะแกรงเหล็กจะยึดติดกันอย่างแน่นหนา แข็งแรง ไม่หลุด
ราคาต้นทุน
เริ่มต้นเมตรละ 113 บาท (ขึ้นอยู่กับความสูงของตาข่าย)
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
ที่มา https://tb.co.th/ (https://tb.co.th/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 07:22:28 AM
แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:2048/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/20160907_120307-2048x1536.jpg)
ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 07:47:27 AM
แผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/) คืออะไร
มาทำความรู้จักกับแผ่นพื้นเหล็กที่ใช้สำหรับงานพื้นกัน หลายคนอาจเคยได้ยิน Metal Deck, Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/) หรือบางทีใช้คำว่า Composite Steel Deck ถ้าเป็นคำไทยก็อาจจะเรียกว่าแผ่นสำเร็จรูปพื้นลอนเหล็ก ไม่ว่าจะเรียกว่าอะไรก็ตาม ความหมายก็คือแผ่นที่ใช้สำหรับงานพื้นโดยเฉพาะ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/PD-06.png)

งานพื้น หรือพื้นที่เรากำลังยืนหรือนั่งอยู่ตอนนี้ คือ หนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานของอาคาร ที่ทำหน้าที่รับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (น้ำหนักบรรทุกจร และน้ำหนักบรรทุกคงที่) พื้นเป็นโครงสร้างตามแนวราบของอาคาร ซึ่งรับน้ำหนักโดยตรง จากนั้นจึงถ่ายน้ำหนักไปสู่คานหรือเสา ซึ่งพื้นมีหลายประเภท ได้แก่ งานพื้นคอนกรีตหล่อในที่ แผ่นพื้นกึ่งสำเร็จรูป แผ่นพื้นเหล็ก และงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) เป็นต้น

แผ่น Metal Deck คือส่วนหนึ่งของงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) ที่ประกอบไปด้วยแผ่น Metal Deck และการเทคอนกรีตทับหน้า เมื่อคอนกรีตเซ็ทตัวก็จะได้งานระบบพื้นที่หน้าตาไม่ต่างจากแบบอื่น แต่ย่นระยะเวลาในการก่อสร้างได้มากกว่า ซึ่งแผ่น Metal Deck ผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีรีดขึ้นรูป และมีปุ่มนูน (Embossment) กระจายอยู่ตามสันของแผ่น ปุ่มนูนเหล่านี้ เป็นเหมือนตัวยึดเกาะไม่ให้แผ่นพื้นเหล็กกับคอนกรีตไถลตัวออกจากกัน ซึ่งตัวแผ่น Metal Deck นั้นเป็นทั้งแบบและเหล็กเสริมไปในตัว จึงลดการใช้เหล็กเสริมมากกว่างานพื้นแบบอื่น โดยแผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/) สามารถใช้กับโครงสร้างเหล็ก และโครงสร้างปูน หากใช้กับโครงสร้างเหล็กจะใช้กับ Stud ในการติดตั้ง ขณะที่ใช้แผ่นนี้กับโครงสร้างปูนจะติดตั้งกับเหล็กหนวดกุ้ง เหล็กที่ยื่นออกมาจากโครงสร้างเพื่อยึดชิ้นส่วนโครงสร้างที่หล่อหน้างาน สามารถใช้ได้ทั้งเหล็กข้ออ้อย/เหล็กกลม ขึ้นอยู่การรับแรง (สามารถดูข้อมูลตารางออกแบบน้ำหนักบรรทุกจร ที่นี่)

ปัจจุบันงานพื้นที่ใช้แผ่น Metal Deck ได้รับความนิยมแพร่หลายในการก่อสร้างหลายประเภท เพราะเป็นงานระบบพื้นที่สร้างได้อย่างรวดเร็ว แข็งแรง ประหยัดในเรื่องของไม้แบบและเหล็กเสริม เหมาะสำหรับอาคารทั่วไป โรงงาน ตึกสูง บ้านพักอาศัย และอื่นๆอีกมากมาย

ให้แผ่น Metal Deck เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในงานระบบพื้น สามารถสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องแบบกับทีมงาน ConTel Metal Deck ได้ที่ 083 699 6697 เรายินดีให้คำปรึกษาและพร้อมนำเสนอข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์งานก่อสร้างของคุณ

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 10, 2024, 08:27:04 AM
แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:2048/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/20160907_120307-2048x1536.jpg)
ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 02:01:41 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 02:46:29 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 03:49:13 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 04:06:33 AM
(https://www.kwilife.com/public/uploads/blog/images/cb30f8824d2233d9bb2aef3d9c5c0eb7.jpg)
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)

ที่มา www.kwilife.com (http://www.kwilife.com)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 07:03:55 AM
**ทำสวนปลูกผัก ความสุขง่ายๆ ใกล้ตัว**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2021/09/15-12-1024x576.jpg)
การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ผู้คนหันมาสนใจปลูกผักเองมากขึ้น เพราะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักและได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน อีกทั้งการปลูกผักยังเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจอีกด้วย

**ประโยชน์ของการปลูกผัก**

การปลูกผักมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **ได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน** ผักที่ปลูกเองนั้นไม่มีสารเคมีตกค้าง จึงปลอดภัยต่อสุขภาพมากกว่าผักที่ซื้อจากตลาด
* **ช่วยลดค่าใช้จ่าย** การปลูกผักเองนั้นสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักได้ โดยเฉพาะผักที่มีราคาแพง
* **ได้ออกกำลังกาย** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย จึงช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
* **เป็นการพักผ่อนหย่อนใจ** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลายความเครียด

**วิธีการทำสวนปลูกผัก**

การทำสวนปลูกผักสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

1. **เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม** พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
2. **เตรียมดิน** ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
3. **เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม** เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
4. **หว่านหรือปลูกเมล็ด** หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
5. **รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ** รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช

**ผักที่ปลูกง่าย**

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

**เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก**

* ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
* ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
* ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
* ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
* ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

การทำสวนปลูกผักเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 07:44:53 AM

เลี้ยงไส้เดือนดิน งานวัยเกษียณทำอยู่บ้าน สร้างเงินได้
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Cover-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99.jpg)
หลายท่านจะคุ้นเคยกับข้อดีของไส้เดือนในเรื่องการพรวนดินเพียงอย่างเดียว แต่ข้อดีของไส้เดือนดินยังไม่หมดแค่นี้
ยังมีมูลที่ใช้แทนปุ๋ยคอกได้เป็นอย่างดี

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช

ประโยชน์ของมูลไส้เดือน

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/13524010_1615812788435969_1166123771_o-1024x684-1.jpg)
แบคทีเรียในระบบย่อยอาหารของไส้เดือนจะผลิตตัวควบคุมการเติบโตของพืชและฮอร์โมนเพิ่มเติมที่รับผิดชอบสำหรับการเร่งเซลล์พืชให้ขยายและแบ่งตัว ซึ่งมีถึง 10,000 เท่าในมูลไส้เดือนมากกว่าในดินผสมทั่วไป
มูลไส้เดือนจะมีความสมบูรณ์ที่ลงตัวระหว่างสารชีวภาพและช่องว่างอากาศ ซึ่งเป็นความสมดุลที่เหมาะที่จะให้รากพืชเปราะบางชอนไชลงไปได้อย่างง่ายดายเพื่อหาสารอาหารและน้ำ ยิ่งรากมีมากเท่าไหร่ พืชก็จะสามารถรวบรวมอาหารและน้ำได้มากขึ้นเท่านั้นและทำให้พืชมีสุขภาพดีขึ้น
พืชที่ปลูกในกระถางนานๆ ปุ๋ยมูลไส้เดือนจะไม่ทำให้ดินแข็ง จึงสามารถยืดระยะเวลาการปลูกออกไปได้โดย ไม่ต้องเปลี่ยนกระถาง
ปลอดสารเคมี 100% ไม่เป็นพิษต่อคนสัตว์เลี้ยงและสภาพแวดล้อม
กรณีใช้ผสมดิน ที่เป็นดินเหนียว จะช่วยเพิ่มอากาศในดิน ทำให้ดินร่วนซุย และช่วยในการถ่ายเทน้ำและอากาศได้สะดวก
กรณีผสมดินที่เป็นดินทรายจะช่วยเพิ่มเนื้อดิน ช่วยให้ดินเก็บรักษาความชื้น และธาตุอาหารในดิน ลดการชะล้างธาตุอาหารของน้ำ
มูลไส้เดือนดินสามารถช่วยเก็บความชื้นและปลดปล่อยออกมาให้พืชอย่าง ช้าๆ เมื่อพืชต้องการยืดระยะเวลาการให้น้ำแก่พืชได้นานขึ้น
ช่วยลดปัญหาการสลายตัวของธาตุอาหารเป็นตัวปลดปล่อยธาตุอาหารอย่างช้าๆ ทำให้ประหยัดปุ๋ย ปกป้องดินไม่ให้มีสภาพโครงร้างแน่นเข็งและช่วยเติมอินทรียวัตถุในเนื้อดิน ช่วยให้ดินร่วนซุย รากพืชสามารถแพร่ขยายได้กว้าง
มูลไส้เดือนดินจะมีสารประกอบของกรดฮิวมิคซึ่งเป็นตัวกักเก็บธาตุ อาหารที่จำเป็นต่อพืชหลายชนิด เช่น ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) เหล็ก (Fe) และทองแดง (Cu) ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้จะถูกเก็บอยู่ในโมเลกุลของกรดฮิวมิค อยู่ในรูปพร้อมใช้ และจะถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อพืชต้องการ
มูลไส้เดือนไม่มีของแถม ที่ไม่พึงประสงค์ เช่นด้วง เชื้อราร้ายที่เขาไปทำลายพืช ไม่มีผลิตหญ้า ที่จะกลายมาเป็นมาเป็นวัชพืชในภายหลัง
มูลไส้เดือนมีโมเลกุลที่เล็กกว่า ปุ๋ยคอกทั่วไป ต้นไม้จึงดูดซับได้ง่ายและเร็วกว่า
มูลไส้เดือนเป็นปุ๋ยเย็นกว่าใช้กับต้นไม้ได้เลย ไม่ทำอันตรายกับต้นไม้ ต่างกับปุ๋ยคอกอื่น ที่ต้องผ่านการหมักก่อนถึงจะนำมาใช้ได้
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 08:03:00 AM
แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:2048/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/20160907_120307-2048x1536.jpg)
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็กประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1479/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/detached-house-project-ref-1.jpg)
ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็กประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น  Metal Deck (https://contelmetaldeck.com/%e0%b9%81%e0%b8%9c%e0%b9%88%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99-metal-deck-%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%ad%e0%b8%a2%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%84%e0%b8%a3/) ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:2048/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/Vive-Projct-ref-2048x1536.jpg)
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ  Metal Deck (https://contelmetaldeck.com)
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 08:30:19 AM
แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:2048/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/20160907_120307-2048x1536.jpg)
ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 08:33:55 AM
แผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/) คืออะไร
มาทำความรู้จักกับแผ่นพื้นเหล็กที่ใช้สำหรับงานพื้นกัน หลายคนอาจเคยได้ยิน Metal Deck, Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/) หรือบางทีใช้คำว่า Composite Steel Deck ถ้าเป็นคำไทยก็อาจจะเรียกว่าแผ่นสำเร็จรูปพื้นลอนเหล็ก ไม่ว่าจะเรียกว่าอะไรก็ตาม ความหมายก็คือแผ่นที่ใช้สำหรับงานพื้นโดยเฉพาะ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/PD-06.png)

งานพื้น หรือพื้นที่เรากำลังยืนหรือนั่งอยู่ตอนนี้ คือ หนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานของอาคาร ที่ทำหน้าที่รับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (น้ำหนักบรรทุกจร และน้ำหนักบรรทุกคงที่) พื้นเป็นโครงสร้างตามแนวราบของอาคาร ซึ่งรับน้ำหนักโดยตรง จากนั้นจึงถ่ายน้ำหนักไปสู่คานหรือเสา ซึ่งพื้นมีหลายประเภท ได้แก่ งานพื้นคอนกรีตหล่อในที่ แผ่นพื้นกึ่งสำเร็จรูป แผ่นพื้นเหล็ก และงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) เป็นต้น

แผ่น Metal Deck คือส่วนหนึ่งของงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) ที่ประกอบไปด้วยแผ่น Metal Deck และการเทคอนกรีตทับหน้า เมื่อคอนกรีตเซ็ทตัวก็จะได้งานระบบพื้นที่หน้าตาไม่ต่างจากแบบอื่น แต่ย่นระยะเวลาในการก่อสร้างได้มากกว่า ซึ่งแผ่น Metal Deck ผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีรีดขึ้นรูป และมีปุ่มนูน (Embossment) กระจายอยู่ตามสันของแผ่น ปุ่มนูนเหล่านี้ เป็นเหมือนตัวยึดเกาะไม่ให้แผ่นพื้นเหล็กกับคอนกรีตไถลตัวออกจากกัน ซึ่งตัวแผ่น Metal Deck นั้นเป็นทั้งแบบและเหล็กเสริมไปในตัว จึงลดการใช้เหล็กเสริมมากกว่างานพื้นแบบอื่น โดยแผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/) สามารถใช้กับโครงสร้างเหล็ก และโครงสร้างปูน หากใช้กับโครงสร้างเหล็กจะใช้กับ Stud ในการติดตั้ง ขณะที่ใช้แผ่นนี้กับโครงสร้างปูนจะติดตั้งกับเหล็กหนวดกุ้ง เหล็กที่ยื่นออกมาจากโครงสร้างเพื่อยึดชิ้นส่วนโครงสร้างที่หล่อหน้างาน สามารถใช้ได้ทั้งเหล็กข้ออ้อย/เหล็กกลม ขึ้นอยู่การรับแรง (สามารถดูข้อมูลตารางออกแบบน้ำหนักบรรทุกจร ที่นี่)

ปัจจุบันงานพื้นที่ใช้แผ่น Metal Deck ได้รับความนิยมแพร่หลายในการก่อสร้างหลายประเภท เพราะเป็นงานระบบพื้นที่สร้างได้อย่างรวดเร็ว แข็งแรง ประหยัดในเรื่องของไม้แบบและเหล็กเสริม เหมาะสำหรับอาคารทั่วไป โรงงาน ตึกสูง บ้านพักอาศัย และอื่นๆอีกมากมาย

ให้แผ่น Metal Deck เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในงานระบบพื้น สามารถสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องแบบกับทีมงาน ConTel Metal Deck ได้ที่ 083 699 6697 เรายินดีให้คำปรึกษาและพร้อมนำเสนอข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์งานก่อสร้างของคุณ

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 11, 2024, 09:01:59 AM
งานพื้นแบบต่างๆ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/PD-06.png)

โครงสร้างพื้น  (http://"https://contelmetaldeck.com/%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%86/") เป็นส่วนที่มีบริเวณกว้างของอาคาร จำเป็นต้องมีความแข็งแรง ทนทานพอที่จะรับน้ำหนักผู้คน และสิ่งของต่างๆภายในอาคาร รวมไปถึงต้องแข็งแรงพอที่จะรับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่างภัยพิบัติ แผ่นดินไหวที่อาจมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในอนาคต ซึ่งวิศวกรจะต้องมีการคำนวณและออกแบบให้ได้มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยของทุกคนภายในอาคาร สามารถเลือกใช้พื้นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้

งานพื้นแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

งานแผ่นพื้นกึ่งสำเร็จ
เป็นวิธีการนำแผ่นพื้นที่ผลิตจากโรงงานมาติดตั้งหน้างาน พาดบนคาน ผูกเหล็กเสริม และเทคอนกรีตทับหน้า สามารถเลือกใช้ได้ทั้งแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดแผ่นเรียบ ชนิดกลวง

งานแผ่นพื้นประกอบ
การใช้วัสดุแผ่นพื้นเหล็กรีดลอน หรือแผ่น Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/) ร่วมกับคอนกรีตทับหน้า แผ่นพื้นเหล็กสามารถทำหน้าที่เป็นแบบไปในตัว และไม่ต้องใช้ค้ำยันเยอะ ทำให้ประหยัดต้นทุนของการก่อสร้าง

งานพื้นหล่อในที่
เป็นงานพื้นแบบดั้งเดิม ต้องมีการตั้งแบบ ผูกเหล็กเสริม ก่อนจะเทคอนกรีตหล่อลงไป ต้องใช้ค้ำยันรับน้ำหนักจำนวนมาก รอเวลาคอนกรีตเซ็ทตัวค่อนข้างนาน ถึงจะรับน้ำหนักได้

อาคารแต่ละประเภทสามารถเลือกใช้งานระบบพื้นแบบตามความเหมาะ ขึ้นอยู่กับการออกแบบของสถาปนิก ความสวยงาม และความเป็นไปได้ในเชิงวิศวกรรม ความแข็งแรง การรับน้ำหนัก เป็นต้น งานก่อสร้างที่ดีจะไม่สร้างปัญหาให้กับผู้อาศัยในภายหลัง ดังนั้นควรหาข้อมูลความรู้ก่อนตัดสินใจเพื่อเลือกงานระบบพื้นที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

(รวมข้อดีของแผ่น Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/) ที่คนจะสร้างบ้านควรรู้)
Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87/)Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-metal-deck-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/)Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99-metal-deck/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 03:42:23 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 04:01:51 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 04:18:11 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 06:54:00 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 06:55:57 AM
(https://www.kwilife.com/public/uploads/blog/images/cb30f8824d2233d9bb2aef3d9c5c0eb7.jpg)
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)

ที่มา www.kwilife.com (http://www.kwilife.com)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 08:26:32 AM

ลวดหนาม มีกี่ประเภท
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97.jpg)
ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/4.jpg)
ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/pngtree-rusty-barbed-wire-security-fence-sky-photo-image_1259256.jpg)
อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 08:46:09 AM
**ดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอ**
(https://img.kapook.com/u/2023/Jarosphan/Home/Garden/55317/g04.jpg)
สวนหลังบ้านเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้

**1. รู้จักเครื่องมือและเลือกใช้ให้เหมาะสม**

เครื่องมือสำหรับดูแลสวนหลังบ้านมีหลายชนิด เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่ง จอบและเสียม ถังรดน้ำ เป็นต้น ควรเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการทำ เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่งสำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ จอบและเสียมสำหรับพรวนดิน ถังรดน้ำสำหรับรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

**2. รดน้ำต้นไม้อย่างสม่ำเสมอ**

ปริมาณน้ำที่ต้นไม้ต้องการขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ สภาพอากาศ และขนาดของต้นไม้ โดยทั่วไปควรรดน้ำต้นไม้วันละ 1-2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็น

**3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้**

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 17, 2024, 08:49:46 AM
**ดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอ**
(https://img.kapook.com/u/2023/Jarosphan/Home/Garden/55317/g04.jpg)
สวนหลังบ้านเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้

**1. รู้จักเครื่องมือและเลือกใช้ให้เหมาะสม**

เครื่องมือสำหรับดูแลสวนหลังบ้านมีหลายชนิด เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่ง จอบและเสียม ถังรดน้ำ เป็นต้น ควรเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการทำ เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่งสำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ จอบและเสียมสำหรับพรวนดิน ถังรดน้ำสำหรับรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

**2. รดน้ำต้นไม้อย่างสม่ำเสมอ**

ปริมาณน้ำที่ต้นไม้ต้องการขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ สภาพอากาศ และขนาดของต้นไม้ โดยทั่วไปควรรดน้ำต้นไม้วันละ 1-2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็น

**3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้**

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 18, 2024, 02:03:53 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 18, 2024, 02:16:27 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 18, 2024, 02:30:10 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 18, 2024, 03:36:36 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 18, 2024, 03:48:03 AM
แผ่น Metal Deck หรือ steel deck (https://contelmetaldeck.com/%e0%b9%81%e0%b8%9c%e0%b9%88%e0%b8%99-metal-deck-%e0%b8%84%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%b0%e0%b9%84%e0%b8%a3/) คืออะไร
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/IMG_6001-scaled.jpg)
มาทำความรู้จักกับแผ่นพื้นเหล็กที่ใช้สำหรับงานพื้นกัน หลายคนอาจเคยได้ยิน Metal Deck, steel deck (https://contelmetaldeck.com/%e0%b9%81%e0%b8%9c%e0%b9%88%e0%b8%99-metal-deck-%e0%b8%84%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%b0%e0%b9%84%e0%b8%a3/) หรือบางทีใช้คำว่า Composite Steel Deck ถ้าเป็นคำไทยก็อาจจะเรียกว่าแผ่นสำเร็จรูปพื้นลอนเหล็ก ไม่ว่าจะเรียกว่าอะไรก็ตาม ความหมายก็คือแผ่นที่ใช้สำหรับงานพื้นโดยเฉพาะ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/metal-deck-installation-3-scaled.jpg)
งานพื้น หรือพื้นที่เรากำลังยืนหรือนั่งอยู่ตอนนี้ คือ หนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานของอาคาร ที่ทำหน้าที่รับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (น้ำหนักบรรทุกจร และน้ำหนักบรรทุกคงที่) พื้นเป็นโครงสร้างตามแนวราบของอาคาร ซึ่งรับน้ำหนักโดยตรง จากนั้นจึงถ่ายน้ำหนักไปสู่คานหรือเสา ซึ่งพื้นมีหลายประเภท ได้แก่ งานพื้นคอนกรีตหล่อในที่ แผ่นพื้นกึ่งสำเร็จรูป แผ่นพื้นเหล็ก และงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) เป็นต้น

แผ่น Metal Deck คือส่วนหนึ่งของงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) ที่ประกอบไปด้วยแผ่น Metal Deck และการเทคอนกรีตทับหน้า เมื่อคอนกรีตเซ็ทตัวก็จะได้งานระบบพื้นที่หน้าตาไม่ต่างจากแบบอื่น แต่ย่นระยะเวลาในการก่อสร้างได้มากกว่า ซึ่งแผ่น Metal Deck ผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีรีดขึ้นรูป และมีปุ่มนูน (Embossment) กระจายอยู่ตามสันของแผ่น ปุ่มนูนเหล่านี้ เป็นเหมือนตัวยึดเกาะไม่ให้แผ่นพื้นเหล็กกับคอนกรีตไถลตัวออกจากกัน ซึ่งตัวแผ่น Metal Deck นั้นเป็นทั้งแบบและเหล็กเสริมไปในตัว จึงลดการใช้เหล็กเสริมมากกว่างานพื้นแบบอื่น โดยแผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck สามารถใช้กับโครงสร้างเหล็ก และโครงสร้างปูน หากใช้กับโครงสร้างเหล็กจะใช้กับ Stud ในการติดตั้ง ขณะที่ใช้แผ่นนี้กับโครงสร้างปูนจะติดตั้งกับเหล็กหนวดกุ้ง เหล็กที่ยื่นออกมาจากโครงสร้างเพื่อยึดชิ้นส่วนโครงสร้างที่หล่อหน้างาน สามารถใช้ได้ทั้งเหล็กข้ออ้อย/เหล็กกลม ขึ้นอยู่การรับแรง (สามารถดูข้อมูลตารางออกแบบน้ำหนักบรรทุกจร ที่นี่)

ปัจจุบันงานพื้นที่ใช้แผ่น Metal Deck ได้รับความนิยมแพร่หลายในการก่อสร้างหลายประเภท เพราะเป็นงานระบบพื้นที่สร้างได้อย่างรวดเร็ว แข็งแรง ประหยัดในเรื่องของไม้แบบและเหล็กเสริม เหมาะสำหรับอาคารทั่วไป โรงงาน ตึกสูง บ้านพักอาศัย และอื่นๆอีกมากมาย
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/metal-deck-installation-4-scaled.jpg)
ให้แผ่น Metal Deck เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในงานระบบพื้น สามารถสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องแบบกับทีมงาน ConTel Metal Deck ได้ที่ 083 699 6697 เรายินดีให้คำปรึกษาและพร้อมนำเสนอข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์งานก่อสร้างของคุณ
โปรโมชั่นพิเศษ steel deck (https://contelmetaldeck.com/%e0%b9%81%e0%b8%9c%e0%b9%88%e0%b8%99-metal-deck-%e0%b8%84%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%b0%e0%b9%84%e0%b8%a3/)
ช่องทางการติดต่อ  ConTel Metal Deck (https://contelmetaldeck.com)

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 18, 2024, 04:19:38 AM
งานพื้นแบบต่างๆ
(https://contelmetaldeckcomdca68.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1/u:https://contelmetaldeck.com/wp-content/uploads/2020/04/PD-06.png)

โครงสร้างพื้น  (http://"https://contelmetaldeck.com/%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%86/") เป็นส่วนที่มีบริเวณกว้างของอาคาร จำเป็นต้องมีความแข็งแรง ทนทานพอที่จะรับน้ำหนักผู้คน และสิ่งของต่างๆภายในอาคาร รวมไปถึงต้องแข็งแรงพอที่จะรับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่างภัยพิบัติ แผ่นดินไหวที่อาจมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในอนาคต ซึ่งวิศวกรจะต้องมีการคำนวณและออกแบบให้ได้มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยของทุกคนภายในอาคาร สามารถเลือกใช้พื้นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้

งานพื้นแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

งานแผ่นพื้นกึ่งสำเร็จ
เป็นวิธีการนำแผ่นพื้นที่ผลิตจากโรงงานมาติดตั้งหน้างาน พาดบนคาน ผูกเหล็กเสริม และเทคอนกรีตทับหน้า สามารถเลือกใช้ได้ทั้งแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดแผ่นเรียบ ชนิดกลวง

งานแผ่นพื้นประกอบ
การใช้วัสดุแผ่นพื้นเหล็กรีดลอน หรือแผ่น Metal Deck ร่วมกับคอนกรีตทับหน้า แผ่นพื้นเหล็กสามารถทำหน้าที่เป็นแบบไปในตัว และไม่ต้องใช้ค้ำยันเยอะ ทำให้ประหยัดต้นทุนของการก่อสร้าง

งานพื้นหล่อในที่
เป็นงานพื้นแบบดั้งเดิม ต้องมีการตั้งแบบ ผูกเหล็กเสริม ก่อนจะเทคอนกรีตหล่อลงไป ต้องใช้ค้ำยันรับน้ำหนักจำนวนมาก รอเวลาคอนกรีตเซ็ทตัวค่อนข้างนาน ถึงจะรับน้ำหนักได้

อาคารแต่ละประเภทสามารถเลือกใช้งานระบบพื้นแบบตามความเหมาะ ขึ้นอยู่กับการออกแบบของสถาปนิก ความสวยงาม และความเป็นไปได้ในเชิงวิศวกรรม ความแข็งแรง การรับน้ำหนัก เป็นต้น งานก่อสร้างที่ดีจะไม่สร้างปัญหาให้กับผู้อาศัยในภายหลัง ดังนั้นควรหาข้อมูลความรู้ก่อนตัดสินใจเพื่อเลือกงานระบบพื้นที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

(รวมข้อดีของแผ่น Metal Deck ที่คนจะสร้างบ้านควรรู้)
โปรโมชั่นพิเศษ โครงสร้างพื้น  (https://contelmetaldeck.com/%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b9%86/)
ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck  (https://contelmetaldeck.com/)

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 19, 2024, 06:26:05 AM
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 19, 2024, 06:40:55 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 19, 2024, 07:29:34 AM
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/Farmer-Check-Right-Alro-to-Title-Deed-1024x536.jpg)
เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/3-1024x576.jpg)
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://vinemanfencecom70e05.zapwp.com/q:intelligent/r:0/wp:1/w:1024/u:https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2024/01/5-1024x576.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/ (https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 23, 2024, 01:50:52 AM

(https://img.iproperty.com.my/angel-legacy/1110x624-crop/static/2020/08/Land-and-Building-Tax-Update.jpg)

ลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้กับที่ดินบางประเภท
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้มีการปรับลดอัตราการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2566 สำหรับที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางประเภท โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่ได้รับการลดภาษีตามพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 ให้ลดภาษีในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่คำนวณได้ ตัวอย่างกรณีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่เคยได้รับการลดภาษี ได้แก่ โรงพยาบาล ร้านทำผม ร้านอาหาร ร้านล้างรถ และห้างสรรพสินค้า
2. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้รับการลดภาษี 50% ตามพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 เมื่อคำนวณลดภาษีในอัตรา 50% ของจำนวนภาษีที่จะต้องเสียแล้ว ให้ลดภาษีลงอีกในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่ลดไปแล้ว 50% ตัวอย่างกรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ได้รับการลดภาษี 50% ได้แก่
– ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่เจ้าของเป็นบุคคลธรรมดาใช้เป็นที่อยู่อาศัยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน เฉพาะทรัพย์สินที่บุคคลดังกล่าวได้มาทางมรดกและได้จดทะเบียนแล้วก่อนวันที่ 13 มีนาคม 2562
– ที่ดินที่ตั้งของโรงผลิตไฟฟ้า
– ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นเขื่อน
3. กรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ได้รับการลดภาษี 90% ตามพ.ร.ฎ.ลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 แล้ว จะไม่ได้รับการลดภาษีเพิ่มอีก เนื่องจากมาตรา 55 แห่ง พร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 จะมีอัตราการลดภาษีสูงสุดอยู่ที่ 90% ได้แก่
– โรงเรียนในระบบ
– โรงเรียนนอกระบบ (ประเภทสอนศาสนา ตาดีกา ปอเนาะ)
– สวนสัตว์ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
– สวนสนุกที่มีเครื่องเล่นที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)

ที่มา ddproperty (https://www.ddproperty.com/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 23, 2024, 02:20:15 AM
**ที่ดินกรุงเทพ ทรัพยากรสำคัญที่มีจำกัด**
(https://storage-wp.thaipost.net/2022/02/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%AF.jpg)
กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศ ส่งผลให้ความต้องการใช้ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีสูงอย่างต่อเนื่อง

ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีราคาสูง เนื่องจากเป็นที่ดินที่มีศักยภาพสูง ตั้งอยู่ในทำเลที่สะดวกต่อการเดินทางและเข้าถึงสาธารณูปโภคต่างๆ มากมาย ส่งผลให้ที่ดินในกรุงเทพมหานครเป็นที่ต้องการจากทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป

ความต้องการใช้ที่ดินในกรุงเทพมหานครที่สูงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ส่งผลให้ที่ดินกลายเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูง และกลายเป็นเป้าหมายของนักลงทุนจำนวนมาก

อย่างไรก็ตาม ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีจำนวนจำกัด เนื่องจากพื้นที่กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่เมืองที่มีความหนาแน่นสูง ส่งผลให้ที่ดินในกรุงเทพมหานครเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีจำกัด

การใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครจึงควรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เพื่อไม่ให้ที่ดินถูกใช้อย่างสิ้นเปลือง และเพื่อให้ที่ดินยังคงสามารถใช้ประโยชน์ได้ในระยะยาว

**ปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่ดินในกรุงเทพมหานคร**

ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครมีปัจจัยหลายประการที่มีผลต่อราคา ปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่

* **ทำเลที่ตั้ง** ที่ดินที่ตั้งอยู่ในทำเลที่สะดวกต่อการเดินทางและเข้าถึงสาธารณูปโภคต่างๆ มากมาย จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่ตั้งอยู่ในทำเลที่ห่างไกล
* **ขนาดที่ดิน** ที่ดินที่มีขนาดกว้างขวาง จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่มีขนาดแคบ
* **ศักยภาพในการพัฒนา** ที่ดินที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูง เช่น ที่ดินที่มีทำเลติดถนนใหญ่ ที่ดินที่มีที่ดินว่างเปล่า ที่ดินที่มีสาธารณูปโภคครบครัน จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่ำ
* **ความต้องการใช้ที่ดิน** ที่ดินที่มีความต้องการใช้สูง จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่มีความต้องการใช้ต่ำ

**แนวโน้มราคาที่ดินในกรุงเทพมหานคร**

ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากความต้องการใช้ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีสูงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมืองอาจมีผลต่อราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครได้เช่นกัน

หากเศรษฐกิจของประเทศไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการลงทุนในประเทศไทยมีแนวโน้มที่ดี ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครก็จะมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน

ในทางกลับกัน หากเศรษฐกิจของประเทศไทยชะลอตัว หรือมีปัจจัยทางการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุนในประเทศไทย ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครก็อาจลดลงได้

**แนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน**

การใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน มีแนวทางดังนี้

* **การใช้ที่ดินอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน** หมายถึง การใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
* **การอนุรักษ์ที่ดิน** หมายถึง การป้องกันไม่ให้ที่ดินเสื่อมโทรม โดยการรักษาสภาพทางกายภาพและเคมีของดินให้คงอยู่
* **การฟื้นฟูที่ดิน** หมายถึง การนำที่ดินที่เสื่อมโทรมกลับคืนสู่สภาพเดิมหรือสภาพที่ดีขึ้น

ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปควรร่วมมือกันในการใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เพื่อให้ที่ดินยังคงเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของประเทศ

ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 23, 2024, 07:29:17 AM
ดูแลรักษาท่อน้ำ อย่างไรให้สะอาด ปลอดภัย ใช้งานได้ยาวนาน

(https://www.pokawin.com/images/content/original-1486111046942.jpg)

ท่อน้ำเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำสะอาดมาให้เราใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างร่างกาย ประกอบอาหาร หรือใช้ในการอุปโภคบริโภคอื่นๆ ดังนั้นการดูแลรักษาท่อน้ำให้สะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนานจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีดูแลรักษาท่อน้ำ

ทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอ
การทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอจะช่วยกำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน และตะกรันต่างๆ ที่อาจสะสมอยู่ในท่อน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์

การทำความสะอาดท่อน้ำสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือจ้างช่างประปามาดำเนินการ โดยหากทำความสะอาดด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้

ปิดวาล์วน้ำที่ปลายท่อ
ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากท่อ
ใช้น้ำยาล้างท่อหรือน้ำยาอื่นๆ ที่เหมาะสมฉีดล้างภายในท่อ
ใช้แปรงขัดทำความสะอาดบริเวณที่สกปรก
ล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ กลับเข้าที่
ตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ
ควรตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ หากพบรอยรั่วหรือรอยแตกร้าวให้รีบซ่อมแซมโดยเร็ว เพราะหากปล่อยให้รั่วนานอาจทำให้ท่อน้ำแตกเสียหายและอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา

เลือกใช้ท่อน้ำคุณภาพดี
การเลือกท่อน้ำคุณภาพดีจะช่วยให้ท่อน้ำมีอายุการใช้งานยาวนานและลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

ข้อควรระวังในการทำความสะอาดท่อน้ำ

ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสกับสารเคมีหรือสิ่งสกปรกต่างๆ
ไม่ควรใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อน้ำ เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
หากพบปัญหาท่อน้ำตันหรือท่อน้ำรั่ว ควรปรึกษาช่างประปาที่มีความชำนาญ
ประโยชน์ของการดูแลรักษาท่อน้ำ

ช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน
ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์
ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ
การดูแลรักษาท่อน้ำเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะจะช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 25, 2024, 02:02:37 AM
ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
(https://cdn.chiangmainews.co.th/wp-content/uploads/2020/01/05032336/3-4.jpg-4-800x450.jpg)

หลายคนมีพื้นที่ดินว่างเปล่าที่เต็มไปด้วยวัชพืชนานาชนิดและไม่ได้จัดการอะไร ช่วงฤดูแล้งอย่างนี้หญ้าเริ่มเหี่ยวแห้ง มาจัดการพื้นที่รกร้างที่มีอยู่ แล้วมา ” ปลูกกล้วย ” กันดีกว่า
กล้วยเป็นผลไม้พื้นบ้านที่คนไทยรู้จักกันมานาน เพราะทุกส่วนของกล้วยทั้งลำต้น ใบ ดอก ผล เหง้า และยังขยายพันธุ์ง่ายด้วยการแบ่งหน่อ หรือผ่าเหง้าไปปลูกต่อ จึงพบกล้วยขึ้นอยู่ทั่วไปในบ้านเรา และเป็นผลไม้ที่ไม่ค่อยมีใครให้ความสำคัญกันมากนัก ทั้ง ๆ ที่กล้วยมีประโยชน์มากมาย

ช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา ผลกล้วยน้ำว้ามีราคาสูงขึ้น เนื่องจากมีการปลูกลดลง อีกทั้งสภาพแห้งแล้ง ทำให้หลายคนหันกลับมาปลูกกล้วยเป็นอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครอบครัว แต่การปลูกอย่างไรให้ได้ผลผลิตดีๆ มาเรียนรู้กัน
(https://cdn.pic.in.th/file/picinth/banana07-1.jpeg)
สิ่งแรกที่ควรคำนึงถึงคือ “สภาพพื้นที่และดินในบริเวณนั้น” แม้ว่ากล้วยจะเป็นพืชที่ทนทาน แต่การปลูกกล้วยให้ได้ผลผลิตที่ดี ดินปลูกควรมีอินทรีย์วัตถุและความชุ่มชื้นเพียงพอ “แสงแดด” เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ต้องคำนึงถึง กล้วยชอบแสงแดดจัด หากพื้นที่ดีแต่แสงแดดน้อยมักไม่ออกเครือ หรือคุณภาพผลผลิตไม่ดีพอ
(https://cdn.pic.in.th/file/picinth/banana12.jpeg)
นอกจากนี้ “น้ำ” ก็เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการปลูกกล้วย แม้กว่ากล้วยเป็นพีชที่กักเก็บน้ำในลำต้นได้ดี แต่ถ้าได้รับน้ำไม่เพียงพอ ต้นจะเติบโตได้ไม่ดีนัก จึงควรติดตั้งระบบให้น้ำไว้บ้างเพื่อต้นกล้วยเติบโตอย่างสมบูรณ์ ให้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ
 รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) จำหน่ายลวดหนามหลากหลายประเภท คุณภาพดี ราคาประหยัด
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/) จำหน่ายตาข่ายถักหลากหลายประเภท แข็งแรงทนทาน ติดตั้งง่าย
ที่มา


ทีมา baanlaesuan.com (http://baanlaesuan.com)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 25, 2024, 02:37:01 AM
**ที่ดินกรุงเทพ ทรัพยากรสำคัญที่มีจำกัด**
(https://storage-wp.thaipost.net/2022/02/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%AF.jpg)
กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศ ส่งผลให้ความต้องการใช้ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีสูงอย่างต่อเนื่อง

ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีราคาสูง เนื่องจากเป็นที่ดินที่มีศักยภาพสูง ตั้งอยู่ในทำเลที่สะดวกต่อการเดินทางและเข้าถึงสาธารณูปโภคต่างๆ มากมาย ส่งผลให้ที่ดินในกรุงเทพมหานครเป็นที่ต้องการจากทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป

ความต้องการใช้ที่ดินในกรุงเทพมหานครที่สูงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ส่งผลให้ที่ดินกลายเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูง และกลายเป็นเป้าหมายของนักลงทุนจำนวนมาก

อย่างไรก็ตาม ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีจำนวนจำกัด เนื่องจากพื้นที่กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่เมืองที่มีความหนาแน่นสูง ส่งผลให้ที่ดินในกรุงเทพมหานครเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีจำกัด

การใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครจึงควรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เพื่อไม่ให้ที่ดินถูกใช้อย่างสิ้นเปลือง และเพื่อให้ที่ดินยังคงสามารถใช้ประโยชน์ได้ในระยะยาว

**ปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่ดินในกรุงเทพมหานคร**

ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครมีปัจจัยหลายประการที่มีผลต่อราคา ปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่

* **ทำเลที่ตั้ง** ที่ดินที่ตั้งอยู่ในทำเลที่สะดวกต่อการเดินทางและเข้าถึงสาธารณูปโภคต่างๆ มากมาย จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่ตั้งอยู่ในทำเลที่ห่างไกล
* **ขนาดที่ดิน** ที่ดินที่มีขนาดกว้างขวาง จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่มีขนาดแคบ
* **ศักยภาพในการพัฒนา** ที่ดินที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูง เช่น ที่ดินที่มีทำเลติดถนนใหญ่ ที่ดินที่มีที่ดินว่างเปล่า ที่ดินที่มีสาธารณูปโภคครบครัน จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่ำ
* **ความต้องการใช้ที่ดิน** ที่ดินที่มีความต้องการใช้สูง จะมีราคาสูงกว่าที่ดินที่มีความต้องการใช้ต่ำ

**แนวโน้มราคาที่ดินในกรุงเทพมหานคร**

ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากความต้องการใช้ที่ดินในกรุงเทพมหานครมีสูงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมืองอาจมีผลต่อราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครได้เช่นกัน

หากเศรษฐกิจของประเทศไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการลงทุนในประเทศไทยมีแนวโน้มที่ดี ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครก็จะมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน

ในทางกลับกัน หากเศรษฐกิจของประเทศไทยชะลอตัว หรือมีปัจจัยทางการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุนในประเทศไทย ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครก็อาจลดลงได้

**แนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน**

การใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน มีแนวทางดังนี้

* **การใช้ที่ดินอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน** หมายถึง การใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
* **การอนุรักษ์ที่ดิน** หมายถึง การป้องกันไม่ให้ที่ดินเสื่อมโทรม โดยการรักษาสภาพทางกายภาพและเคมีของดินให้คงอยู่
* **การฟื้นฟูที่ดิน** หมายถึง การนำที่ดินที่เสื่อมโทรมกลับคืนสู่สภาพเดิมหรือสภาพที่ดีขึ้น

ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปควรร่วมมือกันในการใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เพื่อให้ที่ดินยังคงเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของประเทศ

ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 25, 2024, 03:11:52 AM
ดูแลรักษาท่อน้ำ อย่างไรให้สะอาด ปลอดภัย ใช้งานได้ยาวนาน

(https://www.pokawin.com/images/content/original-1486111046942.jpg)

ท่อน้ำเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำสะอาดมาให้เราใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างร่างกาย ประกอบอาหาร หรือใช้ในการอุปโภคบริโภคอื่นๆ ดังนั้นการดูแลรักษาท่อน้ำให้สะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนานจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีดูแลรักษาท่อน้ำ

ทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอ
การทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอจะช่วยกำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน และตะกรันต่างๆ ที่อาจสะสมอยู่ในท่อน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์

การทำความสะอาดท่อน้ำสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือจ้างช่างประปามาดำเนินการ โดยหากทำความสะอาดด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้

ปิดวาล์วน้ำที่ปลายท่อ
ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากท่อ
ใช้น้ำยาล้างท่อหรือน้ำยาอื่นๆ ที่เหมาะสมฉีดล้างภายในท่อ
ใช้แปรงขัดทำความสะอาดบริเวณที่สกปรก
ล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ กลับเข้าที่
ตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ
ควรตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ หากพบรอยรั่วหรือรอยแตกร้าวให้รีบซ่อมแซมโดยเร็ว เพราะหากปล่อยให้รั่วนานอาจทำให้ท่อน้ำแตกเสียหายและอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา

เลือกใช้ท่อน้ำคุณภาพดี
การเลือกท่อน้ำคุณภาพดีจะช่วยให้ท่อน้ำมีอายุการใช้งานยาวนานและลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

ข้อควรระวังในการทำความสะอาดท่อน้ำ

ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสกับสารเคมีหรือสิ่งสกปรกต่างๆ
ไม่ควรใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อน้ำ เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
หากพบปัญหาท่อน้ำตันหรือท่อน้ำรั่ว ควรปรึกษาช่างประปาที่มีความชำนาญ
ประโยชน์ของการดูแลรักษาท่อน้ำ

ช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน
ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์
ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ
การดูแลรักษาท่อน้ำเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะจะช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 26, 2024, 09:39:54 AM
**ทำสวนเลี้ยงสัตว์**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2016/11/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-5-%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99-1024x768.jpg)
การทำสวนเลี้ยงสัตว์เป็นแนวทางเกษตรกรรมแบบผสมผสานที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นแนวทางที่สามารถนำเอาประโยชน์จากพืชและสัตว์มาใช้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพืชจะช่วยเพิ่มคุณค่าทางอาหารให้กับดินและเป็นแหล่งอาหารให้กับสัตว์ ส่วนสัตว์จะช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรและช่วยดูแลสวนอีกด้วย

**ประโยชน์ของการทำสวนเลี้ยงสัตว์**

การทำสวนเลี้ยงสัตว์มีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร** สัตว์จะช่วยเพิ่มคุณค่าทางอาหารให้กับดิน ทำให้ดินร่วนซุยและสามารถอุ้มน้ำได้ดี ซึ่งจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีและเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
* **ลดต้นทุนการผลิต** สัตว์จะช่วยกำจัดวัชพืชและศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรไม่ต้องใช้สารเคมีหรือแรงงานในการกำจัดวัชพืชและศัตรูพืช ซึ่งช่วยลดต้นทุนการผลิต
* **เพิ่มรายได้เสริม** เกษตรกรสามารถจำหน่ายผลผลิตจากสัตว์ เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ นม มูลสัตว์ เป็นต้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มรายได้เสริมให้กับเกษตรกร
* **สร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืน** การทำสวนเลี้ยงสัตว์จะช่วยสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืน โดยสัตว์จะช่วยเพิ่มวงจรชีวิตของพืชและช่วยรักษาสมดุลของธรรมชาติ

**ขั้นตอนในการทำสวนเลี้ยงสัตว์**

การทำสวนเลี้ยงสัตว์สามารถทำได้โดยเริ่มจากการศึกษาข้อมูลและวางแผนการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง โดยควรคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **สภาพพื้นที่** ควรเลือกพื้นที่ที่มีดินร่วนซุย มีแหล่งน้ำเพียงพอ และมีแสงแดดส่องถึงเพียงพอ
* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ควรกำหนดวัตถุประสงค์ในการเลี้ยงว่าต้องการเลี้ยงเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **พันธุ์พืชและสัตว์** ควรเลือกพันธุ์พืชและสัตว์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง

**ตัวอย่างการทำสวนเลี้ยงสัตว์**

ตัวอย่างการทำสวนเลี้ยงสัตว์ เช่น การทำสวนผักและเลี้ยงไก่ไข่ การทำสวนผลไม้และเลี้ยงเป็ด การทำสวนไม้ดอกไม้ประดับและเลี้ยงปลา เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการทำสวนเลี้ยงสัตว์**

การทำสวนเลี้ยงสัตว์ควรคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ควรเลือกพันธุ์พืชและสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและโรคภัยไข้เจ็บ**
* **ควรดูแลสัตว์ให้อยู่ในความสะอาดและปลอดภัย**
* **ควรหมั่นดูแลรักษาสวนและสัตว์อย่างสม่ำเสมอ**

การทำสวนเลี้ยงสัตว์เป็นแนวทางเกษตรกรรมแบบผสมผสานที่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรได้อย่างมากมาย หากเกษตรกรศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ การทำสวนเลี้ยงสัตว์ก็สามารถประสบความสำเร็จและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน

ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 26, 2024, 10:07:56 AM
**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**
(https://shopee.co.th/blog/wp-content/uploads/2019/09/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94-1.jpg)
การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 26, 2024, 10:13:13 AM
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น

(https://www.bkkcitismart.com/stocks/news/d700x700/tu/fl/fmqbtufl95/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.jpg)

ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)

หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 30, 2024, 02:12:09 AM
ลวดหนาม มีกี่ประเภท
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97.jpg)
ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/4.jpg)
ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/07/pngtree-rusty-barbed-wire-security-fence-sky-photo-image_1259256.jpg)
อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง


โปรโมชั่นของคุณ รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 30, 2024, 02:38:37 AM
พ่นกันสนิม!!จำเป็นจริงหรือ?
(https://www.masterusedcar.com/upload/image/article/715%20(17)_1528705023.jpg)
ในอดีตปัญหาเรื่องสนิมมักเป็นชวนสยองของเจ้าของรถ ทำให้เกิดวัฒนธรรมที่ว่าการซื้อรถใหม่ต้องพ่นกันสนิม แต่ในปัจจุบันเริ่มเลือนรางหายไป จะมีก็แต่คำถามที่ว่า จำเป็นจริงหรือต้องพ่นกันสนิม “รู้ก่อนเหยียบ” จึงขอนำทุกท่านมาไขปัญหาดังกล่าว

สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน ซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก
 
ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก

เป็นปฏิกิริยาที่พบเห็นได้ง่ายๆ กับสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ แต่จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ เมื่อมีเหล็กสัมผัสกับน้ำและความชื้น โดยจะค่อย ๆ สึกกร่อน กลายเป็นเหล็กออกไซด์ มีชื่อทางเคมีว่า ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์ หรือที่เรารู้จักกันว่า สนิมเหล็ก มีลักษณะเป็นคราบสีแดง ซึ่ง สามารถหลุดออกออกไปได้ไม่ยากนัก ทำให้เนื้อเหล็กที่อยู่ชั้นในสามารถเกิดสนิมต่อจนกระทั่งหมดทั้งชิ้น กระบวนการเกิดสนิมค่อนข้างซับซ้อน โดยมีปัจจัยคือ น้ำและออกซิเจน ซึ่งมีอยู่ทั่วไปใน บรรยากาศโลก เหล็กจะเกิดสนิมเร็วขึ้นในบางสภาวะ เช่น สภาวะที่เป็นกรด ตามชายทะเลที่ไอเกลือเข้มข้น เป็นต้น

การป้องกันสนิมของผู้ผลิตรถยนต์

 หลังปี 1996 ผู้ผลิตรถยนต์ทุกรายหันมาให้ความสำคัญกับปัญหาสนิมอย่างจริงจัง สรรหาสารพัดวิธีเพื่อปกป้องรถไม่ให้เกิดสนิม โดยวิธียอดนิยม  เริ่มต้นด้วยการชุบสารฟอสเฟต ที่มีคุณสมบัติเด่นในเรื่องการเคลือบบนผิวเหล็กเป็นผลึกที่แข็งแรงสามารถช่วยปกป้องการเกิดอ๊อกไซด์บนผิวเหล็กแถมช่วยให้เนื้อสีเกาะตัวได้ดี จากนั้นนำไปอบไล่ความชื้นอีกรอบ ก่อนชุบเคลือบในบ่อสีด้วยกระแสไฟฟ้า เพื่อให้การป้องกันสนิมได้ทุกซอกทุกมุม สุดท้ายอบด้วยความร้อนอีกครั้ง ก่อนพ่นสีรองพื้นและสีจริงต่อไป
 
แต่สำหรับการพ่นสีใต้ท้องรถ เมื่อสีรองพื้นแห้งสนิทจะถูกพ่นด้วยสาร PVC เพื่อเป็นการป้องกันการกัดกร่อน และการกะเทาะหลุดล่อน จากการกระแทกของเศษหินหรือวัสดุต่าง ๆ  ซ้ำยังเป็นการช่วยลดเสียงรบกวนได้อีกด้วย  ทั้งนี้จากขั้นตอนต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ทุกเจ้ายืนยันว่าสามารถป้องกันการเกิดสนิมได้โดยไม่จำเป็นต้องพ่นกันสนิมอีก ยกเว้นรถยนต์ที่ใช้ริมทะเลเป็นประจำ หรือรถที่เกิดอุบัติเหตุ จนต้องเคาะพ่นสีใหม่ จึงควรพ่นกันสนิม
 
เทคนิคควรรู้

แม้ว่าการพ่นกันสนิมจะมีข้อดีที่สามารถป้องกันสนิมได้ก็จริงอยู่ แต่น้ำยาพ่นกันสนิมส่วนใหญ่จะมีส่วนผสมของ ปิโตรเคมี ในเกรด แอสฟัลท์ หรือยางมะตอย ซึ่งมีคุณสมบัติไม่พึงประสงค์ในการกัดและทำลายวัสดุที่เป็นยาง หรือมีส่วนผสมของยาง ดังนั้นหากผู้พ่นไม่ชำนาญหรือไม่ระวังอาจก่อให้เกิดความเสียหายกับวัสดุที่เป็นยาง อาทิ ยางหุ้มเพลา บู๊ช ปีกนก และชิ้นส่วนอื่น ๆ ได้
 
ต่างคนก็ต่างเหตุผลต่างความคิด ก็ลองชั่งใจกันดูครับว่า พ่นกันสนิม!!จำเป็นจริงหรือ?? คำตอบอยู่ที่คุณ…
โปรโมชั่นของคุณ รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)

ขอบคุณข้อมูลจาก บริษัท มาสเตอร์ มอเตอร์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 30, 2024, 03:26:53 AM
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น

(https://www.bkkcitismart.com/stocks/news/d700x700/tu/fl/fmqbtufl95/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.jpg)

ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)

หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 30, 2024, 03:48:28 AM
**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**
(https://shopee.co.th/blog/wp-content/uploads/2019/09/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94-1.jpg)
การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ เมษายน 30, 2024, 03:58:43 AM
**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**
(https://shopee.co.th/blog/wp-content/uploads/2019/09/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94-1.jpg)
การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 02, 2024, 01:56:32 AM
ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
(https://cdn.chiangmainews.co.th/wp-content/uploads/2020/01/05032336/3-4.jpg-4-800x450.jpg)

หลายคนมีพื้นที่ดินว่างเปล่าที่เต็มไปด้วยวัชพืชนานาชนิดและไม่ได้จัดการอะไร ช่วงฤดูแล้งอย่างนี้หญ้าเริ่มเหี่ยวแห้ง มาจัดการพื้นที่รกร้างที่มีอยู่ แล้วมา ” ปลูกกล้วย ” กันดีกว่า
กล้วยเป็นผลไม้พื้นบ้านที่คนไทยรู้จักกันมานาน เพราะทุกส่วนของกล้วยทั้งลำต้น ใบ ดอก ผล เหง้า และยังขยายพันธุ์ง่ายด้วยการแบ่งหน่อ หรือผ่าเหง้าไปปลูกต่อ จึงพบกล้วยขึ้นอยู่ทั่วไปในบ้านเรา และเป็นผลไม้ที่ไม่ค่อยมีใครให้ความสำคัญกันมากนัก ทั้ง ๆ ที่กล้วยมีประโยชน์มากมาย

ช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา ผลกล้วยน้ำว้ามีราคาสูงขึ้น เนื่องจากมีการปลูกลดลง อีกทั้งสภาพแห้งแล้ง ทำให้หลายคนหันกลับมาปลูกกล้วยเป็นอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครอบครัว แต่การปลูกอย่างไรให้ได้ผลผลิตดีๆ มาเรียนรู้กัน
(https://cdn.pic.in.th/file/picinth/banana07-1.jpeg)
สิ่งแรกที่ควรคำนึงถึงคือ “สภาพพื้นที่และดินในบริเวณนั้น” แม้ว่ากล้วยจะเป็นพืชที่ทนทาน แต่การปลูกกล้วยให้ได้ผลผลิตที่ดี ดินปลูกควรมีอินทรีย์วัตถุและความชุ่มชื้นเพียงพอ “แสงแดด” เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ต้องคำนึงถึง กล้วยชอบแสงแดดจัด หากพื้นที่ดีแต่แสงแดดน้อยมักไม่ออกเครือ หรือคุณภาพผลผลิตไม่ดีพอ
(https://cdn.pic.in.th/file/picinth/banana12.jpeg)
นอกจากนี้ “น้ำ” ก็เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการปลูกกล้วย แม้กว่ากล้วยเป็นพีชที่กักเก็บน้ำในลำต้นได้ดี แต่ถ้าได้รับน้ำไม่เพียงพอ ต้นจะเติบโตได้ไม่ดีนัก จึงควรติดตั้งระบบให้น้ำไว้บ้างเพื่อต้นกล้วยเติบโตอย่างสมบูรณ์ ให้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ
 รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) จำหน่ายลวดหนามหลากหลายประเภท คุณภาพดี ราคาประหยัด
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/) จำหน่ายตาข่ายถักหลากหลายประเภท แข็งแรงทนทาน ติดตั้งง่าย
ที่มา


ทีมา baanlaesuan.com (http://baanlaesuan.com)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 02, 2024, 02:41:00 AM

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 02, 2024, 02:43:10 AM

**ดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอ**
(https://img.kapook.com/u/2023/Jarosphan/Home/Garden/55317/g04.jpg)
สวนหลังบ้านเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้

**1. รู้จักเครื่องมือและเลือกใช้ให้เหมาะสม**

เครื่องมือสำหรับดูแลสวนหลังบ้านมีหลายชนิด เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่ง จอบและเสียม ถังรดน้ำ เป็นต้น ควรเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการทำ เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่งสำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ จอบและเสียมสำหรับพรวนดิน ถังรดน้ำสำหรับรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

**2. รดน้ำต้นไม้อย่างสม่ำเสมอ**

ปริมาณน้ำที่ต้นไม้ต้องการขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ สภาพอากาศ และขนาดของต้นไม้ โดยทั่วไปควรรดน้ำต้นไม้วันละ 1-2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็น

**3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้**

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 02, 2024, 03:36:58 AM
สนิมเกิดจากอะไร
(https://www.chi.co.th/files/2020/02/chi.co.th_1005764.jpg)
สนิม (rust) คือ กระบวนการทางเคมีที่เหล็กทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ทำให้เกิดสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า เฟอริกออกไซด์ (Fe2O3) มีลักษณะเป็นคราบสีน้ำตาลแดงเกาะอยู่บนผิวเหล็ก สนิมเป็นสาเหตุที่ทำให้เหล็กเสื่อมสภาพ เปราะบาง และสูญเสียความแข็งแรง

กระบวนการเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

เหล็กสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจนในอากาศ
อิเล็กตรอนที่เหล็กสูญเสียไปจะรวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นโมเลกุลของน้ำ
โมเลกุลของน้ำจะรวมตัวกับอะตอมเหล็กที่สูญเสียอิเล็กตรอนกลายเป็นสารประกอบเฟอริกออกไซด์
ปัจจัยที่เร่งให้เกิดสนิม ได้แก่

ความชื้นในอากาศ ยิ่งความชื้นในอากาศสูง สนิมก็จะเกิดขึ้นเร็วขึ้น
อุณหภูมิ ยิ่งอุณหภูมิสูงขึ้น สนิมก็จะเกิดขึ้นเร็วขึ้นเช่นกัน
สารเคมีบางชนิด เช่น เกลือ กรด ด่าง ก็สามารถเร่งให้เกิดสนิมได้
วิธีป้องกันสนิม ได้แก่

ทาสีหรือเคลือบผิวเหล็กเพื่อป้องกันไม่ให้ความชื้นและออกซิเจนสัมผัสกับผิวเหล็ก
เก็บเหล็กไว้ในที่แห้งและเย็น
หลีกเลี่ยงการใช้เหล็กในบริเวณที่มีความชื้นหรือสารเคมี
สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับวัสดุที่ทำจากเหล็ก หากไม่ป้องกันสนิม สนิมจะกัดกร่อนเหล็กจนเหล็กเสื่อมสภาพและอาจทำให้โครงสร้างหรืออุปกรณ์เสียหายได้
โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 02, 2024, 09:57:57 AM
4 สัตว์เศรษฐกิจมาแรง สร้างรายได้งาม

(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/4-%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87-%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1.jpeg)

เพื่อน ๆ รู้หรือไม่? หลังโควิด-19 เทรนด์สัตว์เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เพราะราคาตลาดของเนื้อสัตว์ที่เราบริโภคกันปกติ อย่างหมู ไก่ เนื้อวัว มีราคาสูงขึ้นจากการระบาดของโรคอหิวาต์ แอฟริกา ใน สุกร หรือ African Swine Fever(AFS) ที่ระบาดไปทั่วทุกมุมโลก ทำให้ตลาดต้องการเนื้อไก่ และเนื้อวัวจำนวนมากทำให้ราคาสูงขึ้นตามไปด้วย

 

สำหรับมือใหม่ที่ต้องการให้มาเลี้ยงสุกรที่เป็นสัตว์เศรษฐกิจ ควรรู้! ยังมีสัตว์เศรษฐกิจมาแรงอื่นๆ ในปี 2023 ที่สร้างรายได้มากกว่าสุกร มีอะไรบ้าง? เราจะมาหาคำตอบกันในบทความนี้ครับ
(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%B2.jpg)
ปูนา สัตว์เศรษฐกิจคู่บ้านคู่เมืองไทย เลี้ยงได้ทุกภาค
 
ทำไมปูนาถึงกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ
ปูนา เป็นสัตว์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองคนไทยมาอย่างยาว และพบได้ทั่วทุกภูมิภาคของไทย มักอาศัยอยู่ตามคันนา แต่ปัจจุบันปริมาณของปูนาลดลง จากการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร ทำให้ปูนาขาดแคลนและมีราคาสูงอยู่ช่วงหนึ่ง จนต้องมีการทำฟาร์มไว้เพื่อจำหน่ายและกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจของไทย

เคล็ดลับวิธีการเลี้ยงปูนา
โดยปกติทั่วไป ปูนาเป็นสัตว์ที่มีนิสัยขี้หงุดหงิด อารมณ์ร้อน หากอยู่ในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมกับตัวเอง จะเริ่มทำร้ายตัวเองด้วยการหักแขน หักขาตัวเองทิ้ง การเลี้ยงปูนาจึงต้องเลี้ยงในบ่อดินที่คล้ายคลึงกับสภาพแวดล้อมเดิม เพื่อคลายความเครียด และในบ่อดินยังมีแร่ธาตุช่วยให้ปูแข็งแรง สามารถฟื้นตัวได้ดี นอกจากนี้ควรหมั่นเอาใจใส่ และสังเกตพฤติกรรมปูนาบ่อยๆ เพื่อคำนึงถึงสภาพแวดล้อม อาหาร อารมณ์ เพื่อให้ปูนาเจริญเติบโตได้ดีอยู่เสมอ

นอกจากนี้ ควรให้ความสำคัญกับอาหาร ซึ่งสามารถใช้อาหารเม็ดปลาดุก อาหารกบ หรือข้าวสวยเป็นอาหารมื้อหลัก งดให้อาหารที่มันๆ เพราะจะทำให้น้ำเสียงาน และเสริมด้วยอาหารเสริม เช่น แหนแดง จอก และสาหร่าย เป็นต้น

ราคาขายของปูนา
กิโลกรัมละ 120 บาทโดยประมาณ

(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%8B%E0%B9%88%E0%B8%B2.jpg)
กวางรูซ่า สัตว์เศรษฐกิจประโยชน์หลากหลาย
 
ทำไมกวางรูซ่าถึงกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ
กวางรูซ่า เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีประโยชน์หลากหลาย และสามารถนำทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ได้ ทั้งเนื้อที่แสนอร่อยแถมยังไขมันต่ำ หนังที่เหมาะกับการทำเครื่องหนังและเครื่องประดับ เขากวางอ่อนที่เหมาะสำหรับการแปรรูปเป็นอาหารเสริมได้ ทำให้กวางรูซ่ากลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มาแรงของไทย เกษตรกรบางท่านสามารถสร้างรายได้สูงสุด 6,000,000 บาทต่อปีเลยทีเดียว

เคล็ดลับวิธีการเลี้ยงกวางรูซ่า
กวางรูซ่า เป็นสัตว์กินหญ้าเช่นเดียวกับวัว แต่ต่างกันตรงที่ กวางรูซ่าตัวเล็ก ใช้พื้นที่การเลี้ยงน้อยกว่า ต้านทานโรคได้ดี ไม่ป่วยง่าย และกินน้อยเพียงแค่ตัดหญ้าขนให้ทานก็สามารถเลี้ยงให้โตได้ เสริมด้วยแร่ธาตุ อาหารเสริมแบบเดียวกับวัวก็เพียงพอแล้ว งดการเสริมอาหารสำเร็จรูปเพราะจะทำให้กวางตัวอ้วนจนเกินไป เป็นอุปสรรคต่อการผสมพันธ์ุ เพียงแค่ปลูกหญ้าขนที่เจริญเติบโตง่ายและขึ้นโดยทั่วไปก็ให้โปรตีนที่เพียงพอต่อกวางได้แล้ว

ราคาขายของกวางรูซ่า
ส่วนเนื้อกวาง ราคากิโลกรัมละ 200-500 บาทโดยประมาณ, เขากวางอ่อน ราคา 5,000-10,000 บาทโดยประมาณ

(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89.jpg)
จระเข้ สัตว์เศรษฐกิจสายแฟชั่น
 

ทำไมจระเข้ถึงกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ
ทุกคนคนคุ้นชินกันอยู่นานหลายปีแล้วว่า จระเข้ เป็นสัตว์ที่กินได้ และหนังของมันก็เอาไปทำกระเป๋าได้ แต่ปี 2023 นี้ เนื้อจระเข้ถูกพูดถึงเป็นอย่างมากว่า ไขมันน้อย รสชาติดี และมีเนื้อสัมผัสคล้ายๆ กับอกไก่ ทำให้เนื้อจระเข้เป็นที่แนะนำและน่าสนใจเป็นพิเศษ อีกทั้ง ส่วนของหนังจระเข้ก็สามารถนำไปทำเครื่องหนังส่งออกต่างประเทศได้อย่างดี โดยจระเข้ที่นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจมีอยู่ 2 สายพันธุ์ด้วยกัน ได้แก่ จระเข้น้ำจืดหรือจระเข้พันธุ์ไทย และจระเข้น้ำเค็ม

เคล็ดลับวิธีการเลี้ยงจระเข้
การเลี้ยงจระเข้แน่นอนว่าควรจะมีบ่อเลี้ยงที่ปิดมิดชิดเพื่อป้องกันการหลุดลอดของจระเข้ออกสู่ธรรมชาติ ซึ่งมีความอันตรายสูง โดยพื้นที่รอบบ่อควรจะมีเสียงรบกวนน้อยที่สุด ไม่พลุกพล่านจนเกินไป มีแสงแดดส่องถึง และมีอาหารที่เพียงพอต่อจระเข้ตลอดเวลา การให้อาหารจระเข้ควรให้ 2-3 วันต่อครั้งด้วยเนื้อไก่สดติดกระดูกสำหรับจระเข้อายุไม่เกิน 1 ปี แต่หากเป็นสัตว์ชนิดอื่นควรให้สำหรับจระเข้ที่มีอายุมากกว่า 1 ปีไปแล้ว

การเตรียมบ่อจระเข้ควรเป็นบ่อแถวคู่ลักษณะ บกครึ่งหนึ่ง และน้ำครึ่งหนึ่ง ความยาวประมาณ 1.80 เมตร กว้าง 1 เมตร สูง 1.50 เมตร และส่วนที่เป็นบกสูง 50 เมตร พร้อมขัดมันพื้นบ่อและรอบบ่อเพื่อป้องกันลูกจระเข้ปีน และวางท่อระบายน้ำสองอัน สำหรับใต้น้ำควรใช้ท่อพีวีซี่ 2.5 – 3 นิ้ว และท่อบนน้ำใช้ควบคุมประมาณน้ำไม่ให้มากเกินไป ป้องกันน้ำท่วมนั่นเอง

การเลี้ยงจระเข้นั้น แน่นอนว่ามีต้นทุนสูงเพราะเนื้อไก่สดมีราคาสูง แต่เกษตรกรที่ต้องการประหยัดต้นทุนสามารถเลี้ยงลูกกบไว้สำหรับเป็นอาหารจระเข้เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร และหากมีพื้นที่ก็ควรจะเลี้ยงกบเพาะพันธุ์ควบคู่ไว้เพื่อเป็นอาหารให้จระเข้ได้อีกด้วย

ราคาขายของจระเข้
ส่วนเนื้อกวาง ราคากิโลกรัมละ 180 บาทโดยประมาณ,  ส่วนบ้องตัน ราคา 240  บาทโดยประมาณ, จระเข้ทั้งตัวราคาอยู่ที่ 900-1,500 บาทโดยประมาณ
(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD.jpg)
สรุป
ในปี 2023 นี้ สัตวเศรษฐกิจหลายชนิดไม่คุ้นหูคุ้นตาเรามาก่อน หรือบางตัวก็เคยได้ยินชื่อมาบ้าง แต่เรียกได้เลยว่า 4 สัตว์เศรษฐกิจมาแรงที่เรานะนำมาในวันนี้ ทั้งปูนา กวางรูซ่า จระเข้ และกระต่าย ต่างสร้างรายได้งามให้กับเกษตรกรได้อย่างแน่นอน หลายๆ ท่านคงได้ไอเดียในการทำปศุสัตว์ที่ตอบโจทย์ตลาด แต่อย่าลืมที่จะศึกษาเทรนด์ตลาด และอัพเดตข่าวสารความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอนะครับ

ที่มา
https://www.technologychaoban.com/livestock-technology/article_247855
https://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=317&s=tblheight
https://www.palangkaset.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%81/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%8B%E0%B9%88%E0%B8%B2-1/
https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_242362
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 02, 2024, 10:02:34 AM
โฉนดที่ดิน “3 ข้อ เข้าใจง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายที่ดิน”
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/messageImage_1668763628796.jpg)

>โฉนดที่ดิน ถือเป็นสินทรัพย์ที่สร้างเสริมมูลค่าได้ตลอดเวลา ทำให้หลายๆคนเลือกที่จะซื้อ-ขายโฉนดที่ดินเพื่อเก็งกำไร แต่ก่อนที่เราจะซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน เราต้องรู้ก่อนว่าโฉนดที่ดินแบบใดซื้อ-ขายได้บ้าง และโฉนดมีกี่แบบ? แตกต่างกันอย่างไรบ้าง? เพื่อป้องกันข้อพิพาทหรือการฟ้องร้องกันในภายหลัง วันนี้เรารวบรวม 3 ข้อง่ายๆมาให้ทำความเข้าใจกันแล้ว…

โฉนดที่ดินมีกี่แบบ?

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/%E0%B9%82%E0%B8%89%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-1-1-510x284.jpg)

โฉนดที่ดินทั่วไปสามารถแบ่งได้ 4 ประเภท คือ โฉนดที่ดิน (นส. 4) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3ก) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3) และหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.4-01) ซึ่งแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันในลักษณะการถือครอง การใช้ประโยชน์ และการซื้อขาย ซึ่งจะแยกย่อยลงไปอีกและมีลักษณะแตกต่างกัน

โฉนดที่ดินแต่ละแบบต่างกันอย่างไร?

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Picture1-510x267.jpg)
โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4
หนังสือที่ทางราชการหรือกรมที่ดินออกให้ตามประมวลกฎหมายเพื่อเป็นการแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของผู้ที่เป็นเจ้าของ มีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน และมีหมุดแสดงพื้นที่ชัดเจน หากผู้ใดมีโฉนดไว้ในครอบครองก็ถือได้ว่ามีกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนนั้นอย่างสมบูรณ์

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เป็นหนังสือที่ทางราชการออกให้เพื่อรับรองว่าเจ้าของสามารถทำประโยชน์ในพื้นที่นั้นๆได้ โดยที่ดินจะมีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน โดยมีเงื่อนไขว่าผู้ครอบครองต้องทำให้ที่ดินนั้นเกิดประโยชน์ต่างจาก นส.4 ที่สามารถปล่อยพื้นที่ทิ้งว่างได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เหมือนกันกับ นส. 3 ก แต่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ไม่มีการวัดพื้นที่โดยละเอียด ลักษณะเป็นรูปแผนที่ลอยๆ อาจะใช้การอ้างอิงวัตถุ หรือต้นไม้ในบริเวณนั้นๆเพื่อเขียนร่างแผนที่ ไม่มีการกำหนดตำแหน่งที่ดินแน่นอน หรือบางกรณีใช้ออกในพื้นที่ที่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ซึ่ง นส. 3 เป็นเอกสารที่นายอำเภอท้องที่เป็นผู้ออกให้ และนส. 3 ข เป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่ที่ดินเป็นออกออกให้แต่ยังไม่ได้รับรองอย่างเป็นทางการ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01
เอกสารสิทธิ์ให้ประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดิน หรือเอกสารที่ออกให้เจ้าของมีสิทธิในการทำเกษตรกรรม และการจัดที่อยู่อาศัยเพื่อเกษตรกรรม เจ้าของมีเพียงสิทธิในการครอบครองเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรเท่านั้น ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ใบจอง หรือ นส.2
หนังสือที่ทางราชการออกให้ประชาชนเพื่ออนุญาตให้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินเป็นการชั่วคราว ซึ่งผู้ที่มีใบจองต้องทำประโยชน์ในพื้นที่ดินมากกว่า 75% ของที่ดิน ภายใน 6 เดือนหลังได้รับใบจองและจะต้องทำประโยชน์แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 3 ปี

สิทธิทำกิน หรือ สทก.
หนังสือที่ราชการออกให้เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิทำกินในพื้นที่เขตป่าไม้ ซึ่งทางกรมป่าไม้จะเป็นผู้ออกให้ โดยผู้ถือสิทธิ์จะต้องทำประโยชน์ โดยกรมป่าไม้สามารถยึดคืนพื้นที่ดินได้ทันทีหากปล่อยรกร้างติดต่อกันเกิน 2 ปี

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5
ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ของผู้ที่อยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์ในพื้นที่มาแต่เดิม ไม่ใช่เอกสารสิทธิแสดงการครอบครองที่ดิน ที่ดินลักษณะนี้มักเป็นที่ดินมือเปล่า ที่ไม่มีเอกสารสิทธิใดๆทั้งสิ้น เป็นลักษณะของการอยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์สืบทอดกันมาเป็นรุ่นต่อรุ่น แต่จะไม่มีสิทธิในการครอบครองที่ดิน เจ้าของที่ดินตัวจริงคือ รัฐ

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5
หนังสือที่แสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือแสดงสิทธิ์ที่ดินและให้จดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรมในใบไต่สวนได้ ไม่ใช่หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ แต่สามารถจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายที่ดิน และโอนให้กันได้ถ้าที่ดินมีใบไต่สวนและมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเป็นการจดทะเบียนโอนมรดก

โฉนดที่ดินแบบใดสามารถซื้อ-ขายได้?
โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4 :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนอง หรือค้ำประกันได้ทั้งหมด ทำให้นิยมซื้อขายมากที่สุด และมีมูลค่าด้านราคาสูงที่สุด ราคาของโฉนด นส.4 มีราคาสูงเมื่อเทียบกับเอกสารชนิดอื่นๆ โดยหากมีการซื้อขาย ผู้ซื้อ-ผู้ขายจะต้องไปทำการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ของสำนักงานที่ดินเท่านั้น มิฉะนั้นจะถือ เป็นโมฆะ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ โดยเมื่อมีการสอบเขตแล้ว เจ้าของสามารถนำหลักฐานไปขออกโนดได้ทันทีไม่ต้องรอรังวัดติดประกาศ 30 วัน

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข :
สามารถซื้อ ขาย โอนได้ โดยการซื้อ-ขายจะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดินเข้ามาทำการรังวัดและติดประกาศเป็นระยะเวลา 30 วัน ถ้าไม่มีใครยื่นเรื่องขอคัดค้าน จึงจะสามารถทำเรื่องขอออกโฉนดได้

โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายไม่ได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้ โดยทายาทจะต้องทำเกษตรกรรมเท่านั้น หรือให้เช่าเพื่อการเกษตรได้

ใบจอง หรือ นส.2 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

สิทธิทำกิน หรือ สทก. :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

เป็นอย่างไรกันบ้างกับการทำความเข้าใจ 3 ข้อง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน สำหรับใครที่ถือโฉนดที่ดินไว้อย่าลืมเช็คว่าตัวเองถือเอกสารลักษณะใด เพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เต็มที่ หรือใครที่กำลังจะมองหาซื้อที่ดินก็อย่าลืมเช็คกันนะว่าที่ดินนั้นสามารถซื้อ-ขายได้หรือไม่เพื่อให้เรามีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของโดยปราศจากข้อพิพาทอีกด้วย หลังซื้อแล้ว ควรทำรั้วให้ชัดเจนเพื่อแสดงอาณาเขตบุกรุกที่ดิน

 

ที่มา kasetphan (https://kasetphan.com/land-titles-3-tips-before-buy-or-sell-land/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 03, 2024, 01:59:24 AM
**สัตว์เหมาะแก่การหาเงิน**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2023/09/cover-web-01-1-1024x512.png)
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์เลี้ยงไว้เพื่อประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นเพื่อนคู่ใจ หรือเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในปัจจุบัน ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่สามารถนำมาเป็นอาชีพได้ หรือที่เรียกว่า "สัตว์เศรษฐกิจ" ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้อย่างดี

**ปัจจัยในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้

* **ความต้องการของตลาด** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความต้องการสูงในตลาด เพื่อที่จะขายผลผลิตได้ง่ายและได้ราคาดี
* **สภาพพื้นที่และภูมิประเทศ** จะต้องเลือกสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ
* **ความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยง** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยงอยู่บ้าง เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง

**ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจ**

ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่

* **สัตว์เลี้ยงสวยงาม** เช่น ปลาสวยงาม นกสวยงาม สัตว์เลื้อยคลานสวยงาม เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจเนื้อ** เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจนม** เช่น วัว แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจไข่** เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจปีก** เช่น เป็ด ห่าน เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจขน** เช่น แกะ แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจหนัง** เช่น วัว หมู แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจน้ำ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ** ก่อนตัดสินใจเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด รวมถึงความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่ เพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการเลี้ยง
* **ดูแลสัตว์อย่างเอาใจใส่** สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องมีการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เจริญเติบโตและแข็งแรง
* **ป้องกันโรคระบาด** โรคระบาดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในการเลี้ยงสัตว์ ควรป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้สัตว์ป่วยหรือตาย

สัตว์เศรษฐกิจเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี หากศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ ก็สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจและสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/)
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/)
รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 03, 2024, 02:31:46 AM
**ทำสวนปลูกผัก ความสุขง่ายๆ ใกล้ตัว**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2021/09/15-12-1024x576.jpg)
การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ผู้คนหันมาสนใจปลูกผักเองมากขึ้น เพราะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักและได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน อีกทั้งการปลูกผักยังเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจอีกด้วย

**ประโยชน์ของการปลูกผัก**

การปลูกผักมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **ได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน** ผักที่ปลูกเองนั้นไม่มีสารเคมีตกค้าง จึงปลอดภัยต่อสุขภาพมากกว่าผักที่ซื้อจากตลาด
* **ช่วยลดค่าใช้จ่าย** การปลูกผักเองนั้นสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักได้ โดยเฉพาะผักที่มีราคาแพง
* **ได้ออกกำลังกาย** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย จึงช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
* **เป็นการพักผ่อนหย่อนใจ** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลายความเครียด

**วิธีการทำสวนปลูกผัก**

การทำสวนปลูกผักสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

1. **เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม** พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
2. **เตรียมดิน** ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
3. **เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม** เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
4. **หว่านหรือปลูกเมล็ด** หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
5. **รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ** รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช

**ผักที่ปลูกง่าย**

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

**เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก**

* ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
* ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
* ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
* ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
* ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

การทำสวนปลูกผักเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 03, 2024, 03:45:19 AM
ดูแลรักษาท่อน้ำ อย่างไรให้สะอาด ปลอดภัย ใช้งานได้ยาวนาน

(https://www.pokawin.com/images/content/original-1486111046942.jpg)

ท่อน้ำเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำสะอาดมาให้เราใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างร่างกาย ประกอบอาหาร หรือใช้ในการอุปโภคบริโภคอื่นๆ ดังนั้นการดูแลรักษาท่อน้ำให้สะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนานจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีดูแลรักษาท่อน้ำ

ทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอ
การทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอจะช่วยกำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน และตะกรันต่างๆ ที่อาจสะสมอยู่ในท่อน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์

การทำความสะอาดท่อน้ำสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือจ้างช่างประปามาดำเนินการ โดยหากทำความสะอาดด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้

ปิดวาล์วน้ำที่ปลายท่อ
ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากท่อ
ใช้น้ำยาล้างท่อหรือน้ำยาอื่นๆ ที่เหมาะสมฉีดล้างภายในท่อ
ใช้แปรงขัดทำความสะอาดบริเวณที่สกปรก
ล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ กลับเข้าที่
ตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ
ควรตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ หากพบรอยรั่วหรือรอยแตกร้าวให้รีบซ่อมแซมโดยเร็ว เพราะหากปล่อยให้รั่วนานอาจทำให้ท่อน้ำแตกเสียหายและอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา

เลือกใช้ท่อน้ำคุณภาพดี
การเลือกท่อน้ำคุณภาพดีจะช่วยให้ท่อน้ำมีอายุการใช้งานยาวนานและลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

ข้อควรระวังในการทำความสะอาดท่อน้ำ

ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสกับสารเคมีหรือสิ่งสกปรกต่างๆ
ไม่ควรใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อน้ำ เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
หากพบปัญหาท่อน้ำตันหรือท่อน้ำรั่ว ควรปรึกษาช่างประปาที่มีความชำนาญ
ประโยชน์ของการดูแลรักษาท่อน้ำ

ช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน
ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์
ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ
การดูแลรักษาท่อน้ำเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะจะช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 03, 2024, 08:47:40 AM
4 สัตว์เศรษฐกิจมาแรง สร้างรายได้งาม

(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/4-%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87-%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1.jpeg)

เพื่อน ๆ รู้หรือไม่? หลังโควิด-19 เทรนด์สัตว์เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เพราะราคาตลาดของเนื้อสัตว์ที่เราบริโภคกันปกติ อย่างหมู ไก่ เนื้อวัว มีราคาสูงขึ้นจากการระบาดของโรคอหิวาต์ แอฟริกา ใน สุกร หรือ African Swine Fever(AFS) ที่ระบาดไปทั่วทุกมุมโลก ทำให้ตลาดต้องการเนื้อไก่ และเนื้อวัวจำนวนมากทำให้ราคาสูงขึ้นตามไปด้วย

 

สำหรับมือใหม่ที่ต้องการให้มาเลี้ยงสุกรที่เป็นสัตว์เศรษฐกิจ ควรรู้! ยังมีสัตว์เศรษฐกิจมาแรงอื่นๆ ในปี 2023 ที่สร้างรายได้มากกว่าสุกร มีอะไรบ้าง? เราจะมาหาคำตอบกันในบทความนี้ครับ
(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%B2.jpg)
ปูนา สัตว์เศรษฐกิจคู่บ้านคู่เมืองไทย เลี้ยงได้ทุกภาค
 
ทำไมปูนาถึงกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ
ปูนา เป็นสัตว์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองคนไทยมาอย่างยาว และพบได้ทั่วทุกภูมิภาคของไทย มักอาศัยอยู่ตามคันนา แต่ปัจจุบันปริมาณของปูนาลดลง จากการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร ทำให้ปูนาขาดแคลนและมีราคาสูงอยู่ช่วงหนึ่ง จนต้องมีการทำฟาร์มไว้เพื่อจำหน่ายและกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจของไทย

เคล็ดลับวิธีการเลี้ยงปูนา
โดยปกติทั่วไป ปูนาเป็นสัตว์ที่มีนิสัยขี้หงุดหงิด อารมณ์ร้อน หากอยู่ในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมกับตัวเอง จะเริ่มทำร้ายตัวเองด้วยการหักแขน หักขาตัวเองทิ้ง การเลี้ยงปูนาจึงต้องเลี้ยงในบ่อดินที่คล้ายคลึงกับสภาพแวดล้อมเดิม เพื่อคลายความเครียด และในบ่อดินยังมีแร่ธาตุช่วยให้ปูแข็งแรง สามารถฟื้นตัวได้ดี นอกจากนี้ควรหมั่นเอาใจใส่ และสังเกตพฤติกรรมปูนาบ่อยๆ เพื่อคำนึงถึงสภาพแวดล้อม อาหาร อารมณ์ เพื่อให้ปูนาเจริญเติบโตได้ดีอยู่เสมอ

นอกจากนี้ ควรให้ความสำคัญกับอาหาร ซึ่งสามารถใช้อาหารเม็ดปลาดุก อาหารกบ หรือข้าวสวยเป็นอาหารมื้อหลัก งดให้อาหารที่มันๆ เพราะจะทำให้น้ำเสียงาน และเสริมด้วยอาหารเสริม เช่น แหนแดง จอก และสาหร่าย เป็นต้น

ราคาขายของปูนา
กิโลกรัมละ 120 บาทโดยประมาณ

(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%8B%E0%B9%88%E0%B8%B2.jpg)
กวางรูซ่า สัตว์เศรษฐกิจประโยชน์หลากหลาย
 
ทำไมกวางรูซ่าถึงกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ
กวางรูซ่า เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีประโยชน์หลากหลาย และสามารถนำทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ได้ ทั้งเนื้อที่แสนอร่อยแถมยังไขมันต่ำ หนังที่เหมาะกับการทำเครื่องหนังและเครื่องประดับ เขากวางอ่อนที่เหมาะสำหรับการแปรรูปเป็นอาหารเสริมได้ ทำให้กวางรูซ่ากลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มาแรงของไทย เกษตรกรบางท่านสามารถสร้างรายได้สูงสุด 6,000,000 บาทต่อปีเลยทีเดียว

เคล็ดลับวิธีการเลี้ยงกวางรูซ่า
กวางรูซ่า เป็นสัตว์กินหญ้าเช่นเดียวกับวัว แต่ต่างกันตรงที่ กวางรูซ่าตัวเล็ก ใช้พื้นที่การเลี้ยงน้อยกว่า ต้านทานโรคได้ดี ไม่ป่วยง่าย และกินน้อยเพียงแค่ตัดหญ้าขนให้ทานก็สามารถเลี้ยงให้โตได้ เสริมด้วยแร่ธาตุ อาหารเสริมแบบเดียวกับวัวก็เพียงพอแล้ว งดการเสริมอาหารสำเร็จรูปเพราะจะทำให้กวางตัวอ้วนจนเกินไป เป็นอุปสรรคต่อการผสมพันธ์ุ เพียงแค่ปลูกหญ้าขนที่เจริญเติบโตง่ายและขึ้นโดยทั่วไปก็ให้โปรตีนที่เพียงพอต่อกวางได้แล้ว

ราคาขายของกวางรูซ่า
ส่วนเนื้อกวาง ราคากิโลกรัมละ 200-500 บาทโดยประมาณ, เขากวางอ่อน ราคา 5,000-10,000 บาทโดยประมาณ

(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89.jpg)
จระเข้ สัตว์เศรษฐกิจสายแฟชั่น
 

ทำไมจระเข้ถึงกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ
ทุกคนคนคุ้นชินกันอยู่นานหลายปีแล้วว่า จระเข้ เป็นสัตว์ที่กินได้ และหนังของมันก็เอาไปทำกระเป๋าได้ แต่ปี 2023 นี้ เนื้อจระเข้ถูกพูดถึงเป็นอย่างมากว่า ไขมันน้อย รสชาติดี และมีเนื้อสัมผัสคล้ายๆ กับอกไก่ ทำให้เนื้อจระเข้เป็นที่แนะนำและน่าสนใจเป็นพิเศษ อีกทั้ง ส่วนของหนังจระเข้ก็สามารถนำไปทำเครื่องหนังส่งออกต่างประเทศได้อย่างดี โดยจระเข้ที่นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจมีอยู่ 2 สายพันธุ์ด้วยกัน ได้แก่ จระเข้น้ำจืดหรือจระเข้พันธุ์ไทย และจระเข้น้ำเค็ม

เคล็ดลับวิธีการเลี้ยงจระเข้
การเลี้ยงจระเข้แน่นอนว่าควรจะมีบ่อเลี้ยงที่ปิดมิดชิดเพื่อป้องกันการหลุดลอดของจระเข้ออกสู่ธรรมชาติ ซึ่งมีความอันตรายสูง โดยพื้นที่รอบบ่อควรจะมีเสียงรบกวนน้อยที่สุด ไม่พลุกพล่านจนเกินไป มีแสงแดดส่องถึง และมีอาหารที่เพียงพอต่อจระเข้ตลอดเวลา การให้อาหารจระเข้ควรให้ 2-3 วันต่อครั้งด้วยเนื้อไก่สดติดกระดูกสำหรับจระเข้อายุไม่เกิน 1 ปี แต่หากเป็นสัตว์ชนิดอื่นควรให้สำหรับจระเข้ที่มีอายุมากกว่า 1 ปีไปแล้ว

การเตรียมบ่อจระเข้ควรเป็นบ่อแถวคู่ลักษณะ บกครึ่งหนึ่ง และน้ำครึ่งหนึ่ง ความยาวประมาณ 1.80 เมตร กว้าง 1 เมตร สูง 1.50 เมตร และส่วนที่เป็นบกสูง 50 เมตร พร้อมขัดมันพื้นบ่อและรอบบ่อเพื่อป้องกันลูกจระเข้ปีน และวางท่อระบายน้ำสองอัน สำหรับใต้น้ำควรใช้ท่อพีวีซี่ 2.5 – 3 นิ้ว และท่อบนน้ำใช้ควบคุมประมาณน้ำไม่ให้มากเกินไป ป้องกันน้ำท่วมนั่นเอง

การเลี้ยงจระเข้นั้น แน่นอนว่ามีต้นทุนสูงเพราะเนื้อไก่สดมีราคาสูง แต่เกษตรกรที่ต้องการประหยัดต้นทุนสามารถเลี้ยงลูกกบไว้สำหรับเป็นอาหารจระเข้เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร และหากมีพื้นที่ก็ควรจะเลี้ยงกบเพาะพันธุ์ควบคู่ไว้เพื่อเป็นอาหารให้จระเข้ได้อีกด้วย

ราคาขายของจระเข้
ส่วนเนื้อกวาง ราคากิโลกรัมละ 180 บาทโดยประมาณ,  ส่วนบ้องตัน ราคา 240  บาทโดยประมาณ, จระเข้ทั้งตัวราคาอยู่ที่ 900-1,500 บาทโดยประมาณ
(https://vinemanfence.com/wp-content/uploads/2023/11/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD.jpg)
สรุป
ในปี 2023 นี้ สัตวเศรษฐกิจหลายชนิดไม่คุ้นหูคุ้นตาเรามาก่อน หรือบางตัวก็เคยได้ยินชื่อมาบ้าง แต่เรียกได้เลยว่า 4 สัตว์เศรษฐกิจมาแรงที่เรานะนำมาในวันนี้ ทั้งปูนา กวางรูซ่า จระเข้ และกระต่าย ต่างสร้างรายได้งามให้กับเกษตรกรได้อย่างแน่นอน หลายๆ ท่านคงได้ไอเดียในการทำปศุสัตว์ที่ตอบโจทย์ตลาด แต่อย่าลืมที่จะศึกษาเทรนด์ตลาด และอัพเดตข่าวสารความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอนะครับ

ที่มา
https://www.technologychaoban.com/livestock-technology/article_247855
https://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=317&s=tblheight
https://www.palangkaset.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%81/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%8B%E0%B9%88%E0%B8%B2-1/
https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_242362
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 03, 2024, 08:55:42 AM

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/Do-Alro-Have-to-Pay-Tax-1024x538.jpg)

ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/24-1024x576.jpg)
ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2024/01/25-1-1024x576.jpg)
ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/ (https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/)

--------------------------------------------------------------------------------------------

โฉนดที่ดิน “3 ข้อ เข้าใจง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายที่ดิน”
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/messageImage_1668763628796.jpg)

>โฉนดที่ดิน ถือเป็นสินทรัพย์ที่สร้างเสริมมูลค่าได้ตลอดเวลา ทำให้หลายๆคนเลือกที่จะซื้อ-ขายโฉนดที่ดินเพื่อเก็งกำไร แต่ก่อนที่เราจะซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน เราต้องรู้ก่อนว่าโฉนดที่ดินแบบใดซื้อ-ขายได้บ้าง และโฉนดมีกี่แบบ? แตกต่างกันอย่างไรบ้าง? เพื่อป้องกันข้อพิพาทหรือการฟ้องร้องกันในภายหลัง วันนี้เรารวบรวม 3 ข้อง่ายๆมาให้ทำความเข้าใจกันแล้ว…

โฉนดที่ดินมีกี่แบบ?

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/%E0%B9%82%E0%B8%89%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-1-1-510x284.jpg)

โฉนดที่ดินทั่วไปสามารถแบ่งได้ 4 ประเภท คือ โฉนดที่ดิน (นส. 4) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3ก) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3) และหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.4-01) ซึ่งแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันในลักษณะการถือครอง การใช้ประโยชน์ และการซื้อขาย ซึ่งจะแยกย่อยลงไปอีกและมีลักษณะแตกต่างกัน

โฉนดที่ดินแต่ละแบบต่างกันอย่างไร?

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Picture1-510x267.jpg)
โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4
หนังสือที่ทางราชการหรือกรมที่ดินออกให้ตามประมวลกฎหมายเพื่อเป็นการแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของผู้ที่เป็นเจ้าของ มีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน และมีหมุดแสดงพื้นที่ชัดเจน หากผู้ใดมีโฉนดไว้ในครอบครองก็ถือได้ว่ามีกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนนั้นอย่างสมบูรณ์

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เป็นหนังสือที่ทางราชการออกให้เพื่อรับรองว่าเจ้าของสามารถทำประโยชน์ในพื้นที่นั้นๆได้ โดยที่ดินจะมีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน โดยมีเงื่อนไขว่าผู้ครอบครองต้องทำให้ที่ดินนั้นเกิดประโยชน์ต่างจาก นส.4 ที่สามารถปล่อยพื้นที่ทิ้งว่างได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เหมือนกันกับ นส. 3 ก แต่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ไม่มีการวัดพื้นที่โดยละเอียด ลักษณะเป็นรูปแผนที่ลอยๆ อาจะใช้การอ้างอิงวัตถุ หรือต้นไม้ในบริเวณนั้นๆเพื่อเขียนร่างแผนที่ ไม่มีการกำหนดตำแหน่งที่ดินแน่นอน หรือบางกรณีใช้ออกในพื้นที่ที่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ซึ่ง นส. 3 เป็นเอกสารที่นายอำเภอท้องที่เป็นผู้ออกให้ และนส. 3 ข เป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่ที่ดินเป็นออกออกให้แต่ยังไม่ได้รับรองอย่างเป็นทางการ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01
เอกสารสิทธิ์ให้ประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดิน หรือเอกสารที่ออกให้เจ้าของมีสิทธิในการทำเกษตรกรรม และการจัดที่อยู่อาศัยเพื่อเกษตรกรรม เจ้าของมีเพียงสิทธิในการครอบครองเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรเท่านั้น ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ใบจอง หรือ นส.2
หนังสือที่ทางราชการออกให้ประชาชนเพื่ออนุญาตให้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินเป็นการชั่วคราว ซึ่งผู้ที่มีใบจองต้องทำประโยชน์ในพื้นที่ดินมากกว่า 75% ของที่ดิน ภายใน 6 เดือนหลังได้รับใบจองและจะต้องทำประโยชน์แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 3 ปี

สิทธิทำกิน หรือ สทก.
หนังสือที่ราชการออกให้เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิทำกินในพื้นที่เขตป่าไม้ ซึ่งทางกรมป่าไม้จะเป็นผู้ออกให้ โดยผู้ถือสิทธิ์จะต้องทำประโยชน์ โดยกรมป่าไม้สามารถยึดคืนพื้นที่ดินได้ทันทีหากปล่อยรกร้างติดต่อกันเกิน 2 ปี

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5
ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ของผู้ที่อยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์ในพื้นที่มาแต่เดิม ไม่ใช่เอกสารสิทธิแสดงการครอบครองที่ดิน ที่ดินลักษณะนี้มักเป็นที่ดินมือเปล่า ที่ไม่มีเอกสารสิทธิใดๆทั้งสิ้น เป็นลักษณะของการอยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์สืบทอดกันมาเป็นรุ่นต่อรุ่น แต่จะไม่มีสิทธิในการครอบครองที่ดิน เจ้าของที่ดินตัวจริงคือ รัฐ

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5
หนังสือที่แสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือแสดงสิทธิ์ที่ดินและให้จดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรมในใบไต่สวนได้ ไม่ใช่หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ แต่สามารถจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายที่ดิน และโอนให้กันได้ถ้าที่ดินมีใบไต่สวนและมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเป็นการจดทะเบียนโอนมรดก

โฉนดที่ดินแบบใดสามารถซื้อ-ขายได้?
โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4 :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนอง หรือค้ำประกันได้ทั้งหมด ทำให้นิยมซื้อขายมากที่สุด และมีมูลค่าด้านราคาสูงที่สุด ราคาของโฉนด นส.4 มีราคาสูงเมื่อเทียบกับเอกสารชนิดอื่นๆ โดยหากมีการซื้อขาย ผู้ซื้อ-ผู้ขายจะต้องไปทำการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ของสำนักงานที่ดินเท่านั้น มิฉะนั้นจะถือ เป็นโมฆะ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ โดยเมื่อมีการสอบเขตแล้ว เจ้าของสามารถนำหลักฐานไปขออกโนดได้ทันทีไม่ต้องรอรังวัดติดประกาศ 30 วัน

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข :
สามารถซื้อ ขาย โอนได้ โดยการซื้อ-ขายจะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดินเข้ามาทำการรังวัดและติดประกาศเป็นระยะเวลา 30 วัน ถ้าไม่มีใครยื่นเรื่องขอคัดค้าน จึงจะสามารถทำเรื่องขอออกโฉนดได้

โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายไม่ได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้ โดยทายาทจะต้องทำเกษตรกรรมเท่านั้น หรือให้เช่าเพื่อการเกษตรได้

ใบจอง หรือ นส.2 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

สิทธิทำกิน หรือ สทก. :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

เป็นอย่างไรกันบ้างกับการทำความเข้าใจ 3 ข้อง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน สำหรับใครที่ถือโฉนดที่ดินไว้อย่าลืมเช็คว่าตัวเองถือเอกสารลักษณะใด เพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เต็มที่ หรือใครที่กำลังจะมองหาซื้อที่ดินก็อย่าลืมเช็คกันนะว่าที่ดินนั้นสามารถซื้อ-ขายได้หรือไม่เพื่อให้เรามีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของโดยปราศจากข้อพิพาทอีกด้วย หลังซื้อแล้ว ควรทำรั้วให้ชัดเจนเพื่อแสดงอาณาเขตบุกรุกที่ดิน

 

ที่มา kasetphan (https://kasetphan.com/land-titles-3-tips-before-buy-or-sell-land/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 03, 2024, 10:04:50 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 07, 2024, 02:22:14 AM
ลวดหนาม คืออะไร?
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Cover-%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.jpg)
ลวดหนาม

ลวดหนามเป็นอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นเส้นลวดที่นำมาดัดเป็นเกลียว และมีปมหนามที่แหลมคม 3-4 แฉก เส้นลวดทำมาจากโลหะที่มีความแข็งแรงทนทาน

ลวดหนามนิยมนำมาใช้ในการล้อมพื้นที่ต่าง ๆ เช่น ล้อมสวน ล้อมที่ดิน ล้อมโรงงาน เพื่อป้องกันไม่ให้คนและสัตว์เข้ามาบุกรุก รวมไปถึงใช้เป็นรั้วบอกเขตแดน

จุดกำเนิดของลวดหนามเริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1867 โดยนายโจเซฟ ฟราย ชาวอเมริกัน ซึ่งได้จดสิทธิบัตรลวดหนามชนิดแรกของโลก ลวดหนามในสมัยนั้นมีลักษณะเป็นเส้นลวดบาง ๆ พันด้วยหนามแหลมคม 2-4 แฉก

ลวดหนามได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเป็นรั้วที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาถูก และติดตั้งได้ง่าย

ปัจจุบัน ลวดหนามมีหลากหลายรูปแบบ มีทั้งลวดหนามแบบธรรมดา ลวดหนามแบบมีตาข่าย ลวดหนามแบบมีไฟฟ้า เป็นต้น

ประโยชน์ของลวดหนาม

ลวดหนามมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

ใช้เป็นรั้วป้องกันความปลอดภัย
ใช้เป็นรั้วกั้นเขตแดน
ใช้เป็นรั้วล้อมสวนหรือที่ดิน
ใช้เป็นรั้วเลี้ยงปศุสัตว์
ใช้เป็นรั้วป้องกันสิ่งอันตรายจากผู้บุกรุก
ข้อควรระวังในการใช้ลวดหนาม

การใช้ลวดหนามควรระมัดระวังอันตรายจากหนามแหลมคม ซึ่งอาจทำให้ได้รับบาดเจ็บได้ ควรติดตั้งลวดหนามให้ห่างจากตัวอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างน้อย 2 เมตร และไม่ควรปีนป่ายหรือสัมผัสกับลวดหนามโดยเด็ดขาด

สรุป

ลวดหนามเป็นอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาถูก และติดตั้งได้ง่าย นิยมนำมาใช้ในการล้อมพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อป้องกันการบุกรุกจากคนและสัตว์
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 07, 2024, 02:41:38 AM

(https://researchcafe.tsri.or.th/wp-content/uploads/2021/08/Picture11.png)

ใช้ที่ดินเพื่อประกอบการเกษตร ปลูกแค่ 1 ไร่ก็ทำได้ จ่ายภาษีเพียง 0.01%
ประกาศกระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเรื่องหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม ได้กำหนดอัตราขั้นต่ำของจำนวนไม้ต้น ไม้ผล ต่อพื้นที่ปลูก 1 ไร่ จึงจะสามารถเรียกว่าใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมได้และจ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพียง 0.01% เท่านั้น แต่หากปล่อยให้รกร้างหรือใช้ประโยชน์ด้านอื่นจะต้องจ่ายภาษีในอัตรา 0.30% ซึ่งมากกว่าภาษีที่ดินเพื่อการเกษตรถึง 30 เท่า
หลายคนจึงหันมาเปลี่ยนที่ดินเปล่า เพื่อใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม ซึ่งที่ง่ายที่สุดและเห็นกันเกลื่อนตาคือการปลูกกล้วย ปลูกมะพร้าว แต่รู้หรือไม่ยังมีไม้ผลอีกหลายชนิดที่สามารถปลูกในที่ดินเพื่อประกอบการเกษตรได้

•อัปเดตอัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
การใช้ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างตามความหมายของคำว่า “ประกอบการเกษตร” ในระเบียบคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนเกษตรกร พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการบริโภค จำหน่าย หรือใช้งานในฟาร์ม แต่ไม่รวมถึงการทำการประมงและการทอผ้า การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรยังหมายความรวมถึงที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่ต่อเนื่องที่ใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมนั้นด้วย

การกำหนดอัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตั้งแต่ปีภาษี 2565-2566 โดยคงอัตราภาษีแบบเดิมเช่นเดียวกับปีภาษี 2563 และ 2564 มีสาระสำคัญ ดังนี้

ที่ดินเพื่อการประกอบเกษตรกรรม อัตราภาษีที่จัดเก็บในปัจจุบันอยู่ที่ 0.01-0.1%
ที่อยู่อาศัย แบ่งเป็น
2.1 บ้านหลังหลัก เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน มูลค่าทรัพย์สินไม่เกิน 50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นภาษี มูลค่า 50 ล้านบาทขึ้นไป อัตราภาษีที่จัดเก็บในปัจจุบันอยู่ที่ 0.03-0.1%
2.2 บ้านหลังหลัก เป็นเจ้าของเฉพาะสิ่งปลูกสร้าง และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน มูลค่าทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นภาษี มูลค่า 10 ล้านบาทขึ้นไป อัตราภาษีที่จัดเก็บในปัจจุบันอยู่ที่ 0.02-0.1%
2.3 บ้านหลังอื่น ๆ อัตราภาษีที่จัดเก็บในปัจจุบันอยู่ที่ 0.02-0.1%
การใช้ประโยชน์อื่น หรือใช้เชิงพาณิชย์ เช่น อาคารสำนักงาน โรงแรม ร้านอาหาร พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม อัตราภาษีที่จัดเก็บในปัจจุบันอยู่ที่ 0.3-0.7%
ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ อัตราภาษีที่ดินว่างเปล่าที่จัดเก็บในปัจจุบันอยู่ที่ 0.3-0.7%
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
ลวดหนาม (http://"http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 07, 2024, 03:43:46 AM
สนิมเกิดจากอะไร
(https://www.chi.co.th/files/2020/02/chi.co.th_1005764.jpg)
สนิม (rust) คือ กระบวนการทางเคมีที่เหล็กทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ทำให้เกิดสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า เฟอริกออกไซด์ (Fe2O3) มีลักษณะเป็นคราบสีน้ำตาลแดงเกาะอยู่บนผิวเหล็ก สนิมเป็นสาเหตุที่ทำให้เหล็กเสื่อมสภาพ เปราะบาง และสูญเสียความแข็งแรง

กระบวนการเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

เหล็กสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจนในอากาศ
อิเล็กตรอนที่เหล็กสูญเสียไปจะรวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นโมเลกุลของน้ำ
โมเลกุลของน้ำจะรวมตัวกับอะตอมเหล็กที่สูญเสียอิเล็กตรอนกลายเป็นสารประกอบเฟอริกออกไซด์
ปัจจัยที่เร่งให้เกิดสนิม ได้แก่

ความชื้นในอากาศ ยิ่งความชื้นในอากาศสูง สนิมก็จะเกิดขึ้นเร็วขึ้น
อุณหภูมิ ยิ่งอุณหภูมิสูงขึ้น สนิมก็จะเกิดขึ้นเร็วขึ้นเช่นกัน
สารเคมีบางชนิด เช่น เกลือ กรด ด่าง ก็สามารถเร่งให้เกิดสนิมได้
วิธีป้องกันสนิม ได้แก่

ทาสีหรือเคลือบผิวเหล็กเพื่อป้องกันไม่ให้ความชื้นและออกซิเจนสัมผัสกับผิวเหล็ก
เก็บเหล็กไว้ในที่แห้งและเย็น
หลีกเลี่ยงการใช้เหล็กในบริเวณที่มีความชื้นหรือสารเคมี
สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับวัสดุที่ทำจากเหล็ก หากไม่ป้องกันสนิม สนิมจะกัดกร่อนเหล็กจนเหล็กเสื่อมสภาพและอาจทำให้โครงสร้างหรืออุปกรณ์เสียหายได้
โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 02:04:38 AM
เลี้ยงไส้เดือนดิน งานวัยเกษียณทำอยู่บ้าน สร้างเงินได้
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Cover-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99.jpg)
หลายท่านจะคุ้นเคยกับข้อดีของไส้เดือนในเรื่องการพรวนดินเพียงอย่างเดียว แต่ข้อดีของไส้เดือนดินยังไม่หมดแค่นี้
ยังมีมูลที่ใช้แทนปุ๋ยคอกได้เป็นอย่างดี

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช

ประโยชน์ของมูลไส้เดือน

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/13524010_1615812788435969_1166123771_o-1024x684-1.jpg)
แบคทีเรียในระบบย่อยอาหารของไส้เดือนจะผลิตตัวควบคุมการเติบโตของพืชและฮอร์โมนเพิ่มเติมที่รับผิดชอบสำหรับการเร่งเซลล์พืชให้ขยายและแบ่งตัว ซึ่งมีถึง 10,000 เท่าในมูลไส้เดือนมากกว่าในดินผสมทั่วไป
มูลไส้เดือนจะมีความสมบูรณ์ที่ลงตัวระหว่างสารชีวภาพและช่องว่างอากาศ ซึ่งเป็นความสมดุลที่เหมาะที่จะให้รากพืชเปราะบางชอนไชลงไปได้อย่างง่ายดายเพื่อหาสารอาหารและน้ำ ยิ่งรากมีมากเท่าไหร่ พืชก็จะสามารถรวบรวมอาหารและน้ำได้มากขึ้นเท่านั้นและทำให้พืชมีสุขภาพดีขึ้น
พืชที่ปลูกในกระถางนานๆ ปุ๋ยมูลไส้เดือนจะไม่ทำให้ดินแข็ง จึงสามารถยืดระยะเวลาการปลูกออกไปได้โดย ไม่ต้องเปลี่ยนกระถาง
ปลอดสารเคมี 100% ไม่เป็นพิษต่อคนสัตว์เลี้ยงและสภาพแวดล้อม
กรณีใช้ผสมดิน ที่เป็นดินเหนียว จะช่วยเพิ่มอากาศในดิน ทำให้ดินร่วนซุย และช่วยในการถ่ายเทน้ำและอากาศได้สะดวก
กรณีผสมดินที่เป็นดินทรายจะช่วยเพิ่มเนื้อดิน ช่วยให้ดินเก็บรักษาความชื้น และธาตุอาหารในดิน ลดการชะล้างธาตุอาหารของน้ำ
มูลไส้เดือนดินสามารถช่วยเก็บความชื้นและปลดปล่อยออกมาให้พืชอย่าง ช้าๆ เมื่อพืชต้องการยืดระยะเวลาการให้น้ำแก่พืชได้นานขึ้น
ช่วยลดปัญหาการสลายตัวของธาตุอาหารเป็นตัวปลดปล่อยธาตุอาหารอย่างช้าๆ ทำให้ประหยัดปุ๋ย ปกป้องดินไม่ให้มีสภาพโครงร้างแน่นเข็งและช่วยเติมอินทรียวัตถุในเนื้อดิน ช่วยให้ดินร่วนซุย รากพืชสามารถแพร่ขยายได้กว้าง
มูลไส้เดือนดินจะมีสารประกอบของกรดฮิวมิคซึ่งเป็นตัวกักเก็บธาตุ อาหารที่จำเป็นต่อพืชหลายชนิด เช่น ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) เหล็ก (Fe) และทองแดง (Cu) ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้จะถูกเก็บอยู่ในโมเลกุลของกรดฮิวมิค อยู่ในรูปพร้อมใช้ และจะถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อพืชต้องการ
มูลไส้เดือนไม่มีของแถม ที่ไม่พึงประสงค์ เช่นด้วง เชื้อราร้ายที่เขาไปทำลายพืช ไม่มีผลิตหญ้า ที่จะกลายมาเป็นมาเป็นวัชพืชในภายหลัง
มูลไส้เดือนมีโมเลกุลที่เล็กกว่า ปุ๋ยคอกทั่วไป ต้นไม้จึงดูดซับได้ง่ายและเร็วกว่า
มูลไส้เดือนเป็นปุ๋ยเย็นกว่าใช้กับต้นไม้ได้เลย ไม่ทำอันตรายกับต้นไม้ ต่างกับปุ๋ยคอกอื่น ที่ต้องผ่านการหมักก่อนถึงจะนำมาใช้ได้

สินค้าเหมาะสมกับการดูแลสวนและที่ดิน รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)

หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 02:30:59 AM
เลี้ยงไส้เดือนดิน งานวัยเกษียณทำอยู่บ้าน สร้างเงินได้
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Cover-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99.jpg)
หลายท่านจะคุ้นเคยกับข้อดีของไส้เดือนในเรื่องการพรวนดินเพียงอย่างเดียว แต่ข้อดีของไส้เดือนดินยังไม่หมดแค่นี้
ยังมีมูลที่ใช้แทนปุ๋ยคอกได้เป็นอย่างดี

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช

ประโยชน์ของมูลไส้เดือน

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/13524010_1615812788435969_1166123771_o-1024x684-1.jpg)
แบคทีเรียในระบบย่อยอาหารของไส้เดือนจะผลิตตัวควบคุมการเติบโตของพืชและฮอร์โมนเพิ่มเติมที่รับผิดชอบสำหรับการเร่งเซลล์พืชให้ขยายและแบ่งตัว ซึ่งมีถึง 10,000 เท่าในมูลไส้เดือนมากกว่าในดินผสมทั่วไป
มูลไส้เดือนจะมีความสมบูรณ์ที่ลงตัวระหว่างสารชีวภาพและช่องว่างอากาศ ซึ่งเป็นความสมดุลที่เหมาะที่จะให้รากพืชเปราะบางชอนไชลงไปได้อย่างง่ายดายเพื่อหาสารอาหารและน้ำ ยิ่งรากมีมากเท่าไหร่ พืชก็จะสามารถรวบรวมอาหารและน้ำได้มากขึ้นเท่านั้นและทำให้พืชมีสุขภาพดีขึ้น
พืชที่ปลูกในกระถางนานๆ ปุ๋ยมูลไส้เดือนจะไม่ทำให้ดินแข็ง จึงสามารถยืดระยะเวลาการปลูกออกไปได้โดย ไม่ต้องเปลี่ยนกระถาง
ปลอดสารเคมี 100% ไม่เป็นพิษต่อคนสัตว์เลี้ยงและสภาพแวดล้อม
กรณีใช้ผสมดิน ที่เป็นดินเหนียว จะช่วยเพิ่มอากาศในดิน ทำให้ดินร่วนซุย และช่วยในการถ่ายเทน้ำและอากาศได้สะดวก
กรณีผสมดินที่เป็นดินทรายจะช่วยเพิ่มเนื้อดิน ช่วยให้ดินเก็บรักษาความชื้น และธาตุอาหารในดิน ลดการชะล้างธาตุอาหารของน้ำ
มูลไส้เดือนดินสามารถช่วยเก็บความชื้นและปลดปล่อยออกมาให้พืชอย่าง ช้าๆ เมื่อพืชต้องการยืดระยะเวลาการให้น้ำแก่พืชได้นานขึ้น
ช่วยลดปัญหาการสลายตัวของธาตุอาหารเป็นตัวปลดปล่อยธาตุอาหารอย่างช้าๆ ทำให้ประหยัดปุ๋ย ปกป้องดินไม่ให้มีสภาพโครงร้างแน่นเข็งและช่วยเติมอินทรียวัตถุในเนื้อดิน ช่วยให้ดินร่วนซุย รากพืชสามารถแพร่ขยายได้กว้าง
มูลไส้เดือนดินจะมีสารประกอบของกรดฮิวมิคซึ่งเป็นตัวกักเก็บธาตุ อาหารที่จำเป็นต่อพืชหลายชนิด เช่น ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) เหล็ก (Fe) และทองแดง (Cu) ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้จะถูกเก็บอยู่ในโมเลกุลของกรดฮิวมิค อยู่ในรูปพร้อมใช้ และจะถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อพืชต้องการ
มูลไส้เดือนไม่มีของแถม ที่ไม่พึงประสงค์ เช่นด้วง เชื้อราร้ายที่เขาไปทำลายพืช ไม่มีผลิตหญ้า ที่จะกลายมาเป็นมาเป็นวัชพืชในภายหลัง
มูลไส้เดือนมีโมเลกุลที่เล็กกว่า ปุ๋ยคอกทั่วไป ต้นไม้จึงดูดซับได้ง่ายและเร็วกว่า
มูลไส้เดือนเป็นปุ๋ยเย็นกว่าใช้กับต้นไม้ได้เลย ไม่ทำอันตรายกับต้นไม้ ต่างกับปุ๋ยคอกอื่น ที่ต้องผ่านการหมักก่อนถึงจะนำมาใช้ได้

สินค้าเหมาะสมกับการดูแลสวนและที่ดิน โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 02:31:56 AM
ไอเดียปลูกผักในลิ้นชัก
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/03/9-%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2-7.jpg)
ลิ้นชักเก่าๆที่ไม่ใช้งานแล้ว อย่าพึ่งทิ้ง ยิ่งหากเป็นลิ้นชักขนาดพอเหมาะกับระเบียงยิ่งสามารถนำมาใช้งานต่อด้วยการปลูกผักสวนครัวต่อได้ เพียงทำความสะอาดและตากแดดให้แห้งก่อนลงดิน จากนั้น ค่อยเริ่มปลูกผัก หากเป็นลิ้นชักไม้แนะนำให้วางในที่ที่แสงแดดส่องถึงป้องกันเชื้อรา หรือหาภาชนะมาลองอีกชั้นเพื่อให้ดูแลได้ง่ายขึ้น

อุปกรณ์ :
ลิ้นชัก
พืชผักที่เหมาะสมสำหรับการปลูก :
ต้นหอม ผักชี ต้นทานตะวันอ่อน
ข้อดีของการปลูกผักในลิ้นชัก
สามารถปลูกผักได้หลากหลาย และประหยัดพื้นที่
สามารถใช้ขยะให้เกิดประโยชน์ได้
ข้อเสียของการปลูกผักในลิ้นชัก
หากดูแลไม่ดี อาจเกิดเชื้อราได้ง่าย
สินค้าเหมาะสมกับการดูแลสวนและที่ดิน โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)
รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 02:45:55 AM
*สนิม**
(https://www.scimath.org/images/uploads/upload2/12_11.jpg)
สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 03:12:02 AM
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น

(https://www.bkkcitismart.com/stocks/news/d700x700/tu/fl/fmqbtufl95/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.jpg)

ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 03:47:05 AM
ภาษีที่ดินคืออะไร

ภาษีที่ดินคือภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ภาษีที่ดินมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเก็บรายได้เพื่อนำมาใช้พัฒนาท้องถิ่นและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน
(https://www.kwilife.com/public/uploads/blog/images/a1414104e13278cbe6b2210a0c4002c4.jpg)
ใครต้องเสียภาษีที่ดิน

บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง มีหน้าที่เสียภาษีที่ดิน ยกเว้นที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่จะได้รับยกเว้นตามประกาศกระทรวงการคลัง

อัตราภาษีที่ดิน

อัตราภาษีที่ดินแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่

ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม อัตราภาษี 0.01%
ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย อัตราภาษี 0.02%
ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม อัตราภาษี 0.03%
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า อัตราภาษี 0.05%
วิธีการคิดคำนวณภาษีที่ดิน

ภาษีที่ดินคำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง โดยนำราคาประเมินทุนทรัพย์มาคูณด้วยอัตราภาษี ตัวอย่างเช่น ที่ดินมีราคาประเมินทุนทรัพย์ 10 ล้านบาท อัตราภาษี 0.02% ภาษีที่ดินที่ต้องชำระจึงเท่ากับ 10 ล้านบาท x 0.02% = 2,000 บาท

การชำระภาษีที่ดิน

ภาษีที่ดินจะต้องชำระภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป หากชำระล่าช้าจะต้องเสียเบี้ยปรับร้อยละ 1.5 ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ

การขอลดหย่อนภาษีที่ดิน

เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีรายได้น้อย สามารถขอลดหย่อนภาษีที่ดินได้ โดยจะต้องมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด เช่น มีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี มีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีราคาประเมินทุนทรัพย์ไม่เกิน 1 ล้านบาท เป็นต้น

การอุทธรณ์ภาษีที่ดิน

หากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างไม่เห็นด้วยกับการประเมินราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง สามารถยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการประเมินราคาประเมินทุนทรัพย์ได้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน

สรุป

ภาษีที่ดินเป็นภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง เพื่อนำมาใช้พัฒนาท้องถิ่นและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างมีหน้าที่เสียภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนด โดยสามารถขอลดหย่อนภาษีได้หากมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 08, 2024, 10:02:30 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 01:54:26 AM

รั้วตาข่ายฟิคซ์ล็อค (Fixed Lock)
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/03/WP_20140806_037.jpg)
รั้วตาข่ายฟิคซ์ล็อค (Fixed Lock)
คุณสมบัติและลักษณะ
รั้วตาข่ายใช้ลวดแรงดึงสูงขนาด 2.50 มม. ปมฟิคซ์ล็อคแน่นหนาพิเศษ ทนสนิมด้วยลวดชุบซิงค์บริสุทธิ์แบบจุ่มร้อนหนากว่า 12 ลวดชุบซิงค์อลูเคลือบสีดำ มาตรฐาน ASTM ผลิตจากลวดเหล็กแรงดึงสูง (High Tensile) มีคุณสมบัติกึ่งสปริง แข็งแรงและทนแรงกระแทกมากกว่ารั้วตาข่ายทั่วไปในท้องตลาด ปมถักแบบฟิคซ์ล็อค ยึดลวดเส้นแนวนอนและแนวตั้งอย่างแน่นหนา รองรับแรงกระแทกได้สูง
วิธีการใช้งาน
สำหรับใช้กั้นอาณาเขตพื้นที่ ล้อมรั้วบ้าน ล้อมรั้วสวน ล้อมรั้วต้นไม้ ทดแทนรั้วตะแกรงเหล็ก
สามารถติดตั้งได้กับเสาทุกประเภท

เสาไม้ (ระยะห่าง 4-6 เมตร)
เสาปูน (ระยะห่าง 4-6 เมตร)
เสาเหล็ก/เสา Y Post/เสารั้วไวน์แมน (ระยะห่าง 5-8 เมตร)
อายุการใช้งาน
อายุการใช้งานของตาข่ายฟิคซ์ล็อค มีอายุการใช้งานนาน 50 ปี* (ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและการใช้งาน)
ข้อดี
แข็งแรงและทนแรงกระแทกมากกว่ารั้วตายข่ายฟิคซ์ล็อคและตะแกรงเหล็กทั่วไปในท้องตลาด
เส้นลวดด้านบนและด้านล่างมีส่วนผสมของอลูมิเนียม 10% ทนต่อความชื้น เพิ่มอายุการใช้งานเป็นอย่างดี
มีรอยหยัก ขึ้น-ลง ของเส้นลวดกึ่งสปริงในแนวนอนแต่ละช่องตลอดเส้น เพิ่มความยืดหยุ่น ไม่ขาดง่าย
รั้วตาข่ายมีความแข็งแรงสูงมาก ทนทานต่อการใช้งานทุกรูปแบบ
ติดตั้งง่าย สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่าย
ราคาต้นทุน
รั้วตาข่ายฟิคซ์ล็อค ขนาด 1.50×100.0 ม. (15 เส้น) ราคา 14,950 บาท

โปรโมชั่นสำหรับคุณลูกค้า รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 02:25:18 AM
**เลี้ยงปลานิล ปลาเศรษฐกิจที่เลี้ยงง่าย รายได้งาม**
(https://static.thairath.co.th/media/dFQROr7oWzulq5Fa5BWMDZEWkSMvzPuEidBrIlUBIgDcHix7mTVOLk8YYWwJt1h8xmN.jpg)
ปลานิลเป็นปลาน้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยมีผลผลิตต่อปีเฉลี่ย 200,000-250,000 ตัน คิดเป็นมูลค่าทางการผลิตกว่า 10,000 ล้านบาท ซึ่งถือว่ามีมูลค่าสูงสุดในกลุ่มสัตว์น้ำจืดทั้งหมด ปลานิลเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว ทนทานต่อสภาพอากาศและโรคภัยไข้เจ็บ จึงเหมาะสำหรับการเลี้ยงเป็นอาชีพหรือเพื่อบริโภคในครอบครัว

**วิธีการเลี้ยงปลานิล**

การเลี้ยงปลานิลสามารถทำได้หลายวิธี ที่นิยมกัน ได้แก่

* **การเลี้ยงในบ่อดิน** เป็นวิธีที่ประหยัดที่สุด สามารถทำได้ในพื้นที่ที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก บ่อดินที่ใช้เลี้ยงปลานิลควรมีขนาดกว้างอย่างน้อย 1 เมตร และลึกอย่างน้อย 2 เมตร บ่อดินควรระบายน้ำได้ดี เพื่อป้องกันการสะสมของตะกอน
* **การเลี้ยงในกระชัง** เป็นวิธีที่สะดวกและประหยัดพื้นที่ สามารถเลี้ยงได้ทั้งในบ่อน้ำธรรมชาติและบ่อน้ำขุด กระชังที่ใช้เลี้ยงปลานิลควรมีขนาดกว้างอย่างน้อย 2 เมตร และลึกอย่างน้อย 1 เมตร
* **การเลี้ยงในระบบปิด** เป็นวิธีที่ทันสมัยและสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมได้ง่าย ระบบปิดที่ใช้เลี้ยงปลานิล ได้แก่ ระบบบ่อกรอง ระบบบ่อวนน้ำ ระบบบ่อไหลเวียน เป็นต้น

**ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลานิล**

ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลานิล ได้แก่

* **พันธุ์ปลา** ควรเลือกพันธุ์ปลานิลที่แข็งแรง ทนทานต่อโรคภัยไข้เจ็บ
* **น้ำ** น้ำที่ใช้เลี้ยงปลานิลควรสะอาด มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอ
* **อาหาร** ควรให้อาหารปลานิลอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ
* **การจัดการโรคและศัตรูพืช** ควรหมั่นตรวจดูปลาเป็นประจำ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและศัตรูพืช

**การเก็บเกี่ยวปลานิล**

ปลานิลสามารถเก็บเกี่ยวได้เมื่อมีอายุประมาณ 6-7 เดือน หรือเมื่อมีน้ำหนักประมาณ 500-700 กรัม ปลานิลสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลายเมนู เช่น ปลานิลทอด ปลานิลผัดฉ่า ปลานิลต้มยำ เป็นต้น

**ข้อดีของการเลี้ยงปลานิล**

การเลี้ยงปลานิลมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **เป็นอาชีพที่สร้างรายได้ที่ดี**
* **เป็นอาชีพที่ไม่ต้องใช้พื้นที่มาก**
* **เป็นอาชีพที่สามารถทำได้ทั้งครอบครัว**
* **เป็นอาชีพที่ไม่ต้องมีความรู้หรือประสบการณ์มาก**

**สรุป**

การเลี้ยงปลานิลเป็นอาชีพที่น่าสนใจและสามารถสร้างรายได้ที่ดีให้กับเกษตรกร ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงปลานิลเพิ่มเติม เพื่อนำไปประกอบอาชีพหรือเพื่อบริโภคในครอบครัว

ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 02:42:01 AM
**เลี้ยงม้า อาชีพเสริมที่ต้องใช้ความเอาใจใส่**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2018/02/9-4.jpg)

ม้าเป็นสัตว์เลี้ยงที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่สง่างามและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น การกีฬา การขนส่ง และการท่องเที่ยว เลี้ยงม้าเป็นอาชีพเสริมที่ต้องใช้ความเอาใจใส่เป็นอย่างมาก

**การเตรียมการเลี้ยงม้า**

ก่อนเลี้ยงม้าควรเตรียมการดังนี้

* **เลือกพื้นที่เลี้ยง** พื้นที่เลี้ยงควรมีแสงแดดส่องถึง มีอากาศถ่ายเทสะดวก และอยู่ห่างจากแหล่งชุมชน
* **สร้างคอกม้า** คอกม้าควรมีขนาดใหญ่พอสำหรับจำนวนม้าที่จะเลี้ยง คอกควรมีหลังคาเพื่อป้องกันแดดและฝน มีประตูและหน้าต่างระบายอากาศ
* **เตรียมอุปกรณ์เลี้ยงม้า** อุปกรณ์เลี้ยงม้า ได้แก่ อาหารม้า น้ำดื่มม้า หญ้าแห้ง กรงเลี้ยงม้า

**การดูแลรักษาม้า**

การดูแลรักษาม้าสามารถทำได้ดังนี้

* **ให้อาหารม้า** ควรให้อาหารม้าอย่างสม่ำเสมอ อาหารม้าควรมีครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่
* **ให้น้ำดื่มม้า** ควรให้น้ำดื่มม้าอย่างสะอาดและเพียงพอ
* **ทำความสะอาดคอกม้า** ควรทำความสะอาดคอกม้าอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสุขอนามัยที่ดีของม้า
* **ดูแลสุขภาพม้า** ควรหมั่นตรวจสุขภาพม้าอย่างสม่ำเสมอ และป้องกันโรคม้าตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่

**เคล็ดลับการเลี้ยงม้า**

* เลือกสายพันธุ์ม้าที่เหมาะกับความต้องการของตนเอง
* เตรียมการเลี้ยงม้าให้พร้อมก่อนเลี้ยง
* ดูแลรักษาม้าอย่างสม่ำเสมอ

การเลี้ยงม้าเป็นอาชีพเสริมที่ต้องใช้ความเอาใจใส่เป็นอย่างมาก เนื่องจากม้าเป็นสัตว์ที่เลี้ยงยากและต้องการการดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพียงปฏิบัติตามขั้นตอนข้างต้นก็สามารถเลี้ยงม้าให้ประสบความสำเร็จ

**ข้อดีของการเลี้ยงม้า**

* เป็นสัตว์ที่สง่างามและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
* สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี

**ข้อเสียของการเลี้ยงม้า**

* ลงทุนเริ่มต้นค่อนข้างสูง
* ดูแลยากและต้องการการดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ
* เสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บ

**ช่องทางการจำหน่ายผลผลิตม้า**

* ขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลาง
* ขายปลีกให้กับผู้บริโภคโดยตรง
* ฝึกสอนม้าเพื่อใช้ในกีฬา การขนส่ง หรือการท่องเที่ยว

การเลี้ยงม้าเป็นอาชีพเสริมที่ต้องใช้ความเอาใจใส่เป็นอย่างมาก เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงม้าให้ประสบความสำเร็จ

ลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
รั้วลวดหนาม (http://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 03:27:49 AM
ภาษีที่ดินคืออะไร

ภาษีที่ดินคือภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ภาษีที่ดินมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเก็บรายได้เพื่อนำมาใช้พัฒนาท้องถิ่นและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน
(https://www.kwilife.com/public/uploads/blog/images/a1414104e13278cbe6b2210a0c4002c4.jpg)
ใครต้องเสียภาษีที่ดิน

บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง มีหน้าที่เสียภาษีที่ดิน ยกเว้นที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่จะได้รับยกเว้นตามประกาศกระทรวงการคลัง

อัตราภาษีที่ดิน

อัตราภาษีที่ดินแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่

ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม อัตราภาษี 0.01%
ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย อัตราภาษี 0.02%
ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม อัตราภาษี 0.03%
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า อัตราภาษี 0.05%
วิธีการคิดคำนวณภาษีที่ดิน

ภาษีที่ดินคำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง โดยนำราคาประเมินทุนทรัพย์มาคูณด้วยอัตราภาษี ตัวอย่างเช่น ที่ดินมีราคาประเมินทุนทรัพย์ 10 ล้านบาท อัตราภาษี 0.02% ภาษีที่ดินที่ต้องชำระจึงเท่ากับ 10 ล้านบาท x 0.02% = 2,000 บาท

การชำระภาษีที่ดิน

ภาษีที่ดินจะต้องชำระภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป หากชำระล่าช้าจะต้องเสียเบี้ยปรับร้อยละ 1.5 ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ

การขอลดหย่อนภาษีที่ดิน

เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีรายได้น้อย สามารถขอลดหย่อนภาษีที่ดินได้ โดยจะต้องมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด เช่น มีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี มีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีราคาประเมินทุนทรัพย์ไม่เกิน 1 ล้านบาท เป็นต้น

การอุทธรณ์ภาษีที่ดิน

หากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างไม่เห็นด้วยกับการประเมินราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง สามารถยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการประเมินราคาประเมินทุนทรัพย์ได้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน

สรุป

ภาษีที่ดินเป็นภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง เพื่อนำมาใช้พัฒนาท้องถิ่นและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างมีหน้าที่เสียภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนด โดยสามารถขอลดหย่อนภาษีได้หากมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 03:38:42 AM
ปลูกผักหลังบ้าน สุขใจ สุขภาพดี
(https://www.nstda.or.th/agritec/wp-content/uploads/2020/11/20201108_093415-resize.jpg)
การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ผู้คนหันมาสนใจปลูกผักเองมากขึ้น เพราะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักและได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน อีกทั้งการปลูกผักยังเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจอีกด้วย

ประโยชน์ของการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

ได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน ผักที่ปลูกเองนั้นไม่มีสารเคมีตกค้าง จึงปลอดภัยต่อสุขภาพมากกว่าผักที่ซื้อจากตลาด
ช่วยลดค่าใช้จ่าย การปลูกผักเองนั้นสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักได้ โดยเฉพาะผักที่มีราคาแพง
ได้ออกกำลังกาย การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย จึงช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
เป็นการพักผ่อนหย่อนใจ การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลายความเครียด
วิธีการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
เตรียมดิน ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
หว่านหรือปลูกเมล็ด หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช
ผักที่ปลูกง่ายหลังบ้าน

ผักที่ปลูกง่ายหลังบ้าน ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 09:55:10 AM




















































































































รั้วตาข่ายฟิคซ์ล็อค (Fixed Lock)
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2023/03/WP_20140806_037.jpg)
รั้วตาข่ายฟิคซ์ล็อค (Fixed Lock)
คุณสมบัติและลักษณะ
รั้วตาข่ายใช้ลวดแรงดึงสูงขนาด 2.50 มม. ปมฟิคซ์ล็อคแน่นหนาพิเศษ ทนสนิมด้วยลวดชุบซิงค์บริสุทธิ์แบบจุ่มร้อนหนากว่า 12 ลวดชุบซิงค์อลูเคลือบสีดำ มาตรฐาน ASTM ผลิตจากลวดเหล็กแรงดึงสูง (High Tensile) มีคุณสมบัติกึ่งสปริง แข็งแรงและทนแรงกระแทกมากกว่ารั้วตาข่ายทั่วไปในท้องตลาด ปมถักแบบฟิคซ์ล็อค ยึดลวดเส้นแนวนอนและแนวตั้งอย่างแน่นหนา รองรับแรงกระแทกได้สูง
วิธีการใช้งาน
สำหรับใช้กั้นอาณาเขตพื้นที่ ล้อมรั้วบ้าน ล้อมรั้วสวน ล้อมรั้วต้นไม้ ทดแทนรั้วตะแกรงเหล็ก
สามารถติดตั้งได้กับเสาทุกประเภท

เสาไม้ (ระยะห่าง 4-6 เมตร)
เสาปูน (ระยะห่าง 4-6 เมตร)
เสาเหล็ก/เสา Y Post/เสารั้วไวน์แมน (ระยะห่าง 5-8 เมตร)
อายุการใช้งาน
อายุการใช้งานของตาข่ายฟิคซ์ล็อค มีอายุการใช้งานนาน 50 ปี* (ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและการใช้งาน)
ข้อดี
แข็งแรงและทนแรงกระแทกมากกว่ารั้วตายข่ายฟิคซ์ล็อคและตะแกรงเหล็กทั่วไปในท้องตลาด
เส้นลวดด้านบนและด้านล่างมีส่วนผสมของอลูมิเนียม 10% ทนต่อความชื้น เพิ่มอายุการใช้งานเป็นอย่างดี
มีรอยหยัก ขึ้น-ลง ของเส้นลวดกึ่งสปริงในแนวนอนแต่ละช่องตลอดเส้น เพิ่มความยืดหยุ่น ไม่ขาดง่าย
รั้วตาข่ายมีความแข็งแรงสูงมาก ทนทานต่อการใช้งานทุกรูปแบบ
ติดตั้งง่าย สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่าย
ราคาต้นทุน
รั้วตาข่ายฟิคซ์ล็อค ขนาด 1.50×100.0 ม. (15 เส้น) ราคา 14,950 บาท

โปรโมชั่นสำหรับคุณลูกค้า รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)





หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 09, 2024, 10:00:31 AM
โฉนดที่ดิน “3 ข้อ เข้าใจง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายที่ดิน”
(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/messageImage_1668763628796.jpg)

>โฉนดที่ดิน ถือเป็นสินทรัพย์ที่สร้างเสริมมูลค่าได้ตลอดเวลา ทำให้หลายๆคนเลือกที่จะซื้อ-ขายโฉนดที่ดินเพื่อเก็งกำไร แต่ก่อนที่เราจะซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน เราต้องรู้ก่อนว่าโฉนดที่ดินแบบใดซื้อ-ขายได้บ้าง และโฉนดมีกี่แบบ? แตกต่างกันอย่างไรบ้าง? เพื่อป้องกันข้อพิพาทหรือการฟ้องร้องกันในภายหลัง วันนี้เรารวบรวม 3 ข้อง่ายๆมาให้ทำความเข้าใจกันแล้ว…

โฉนดที่ดินมีกี่แบบ?

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/%E0%B9%82%E0%B8%89%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-1-1-510x284.jpg)

โฉนดที่ดินทั่วไปสามารถแบ่งได้ 4 ประเภท คือ โฉนดที่ดิน (นส. 4) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3ก) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3) และหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.4-01) ซึ่งแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันในลักษณะการถือครอง การใช้ประโยชน์ และการซื้อขาย ซึ่งจะแยกย่อยลงไปอีกและมีลักษณะแตกต่างกัน

โฉนดที่ดินแต่ละแบบต่างกันอย่างไร?

(https://kasetphan.com/wp-content/uploads/2022/12/Picture1-510x267.jpg)
โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4
หนังสือที่ทางราชการหรือกรมที่ดินออกให้ตามประมวลกฎหมายเพื่อเป็นการแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของผู้ที่เป็นเจ้าของ มีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน และมีหมุดแสดงพื้นที่ชัดเจน หากผู้ใดมีโฉนดไว้ในครอบครองก็ถือได้ว่ามีกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนนั้นอย่างสมบูรณ์

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เป็นหนังสือที่ทางราชการออกให้เพื่อรับรองว่าเจ้าของสามารถทำประโยชน์ในพื้นที่นั้นๆได้ โดยที่ดินจะมีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน โดยมีเงื่อนไขว่าผู้ครอบครองต้องทำให้ที่ดินนั้นเกิดประโยชน์ต่างจาก นส.4 ที่สามารถปล่อยพื้นที่ทิ้งว่างได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เหมือนกันกับ นส. 3 ก แต่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ไม่มีการวัดพื้นที่โดยละเอียด ลักษณะเป็นรูปแผนที่ลอยๆ อาจะใช้การอ้างอิงวัตถุ หรือต้นไม้ในบริเวณนั้นๆเพื่อเขียนร่างแผนที่ ไม่มีการกำหนดตำแหน่งที่ดินแน่นอน หรือบางกรณีใช้ออกในพื้นที่ที่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ซึ่ง นส. 3 เป็นเอกสารที่นายอำเภอท้องที่เป็นผู้ออกให้ และนส. 3 ข เป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่ที่ดินเป็นออกออกให้แต่ยังไม่ได้รับรองอย่างเป็นทางการ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01
เอกสารสิทธิ์ให้ประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดิน หรือเอกสารที่ออกให้เจ้าของมีสิทธิในการทำเกษตรกรรม และการจัดที่อยู่อาศัยเพื่อเกษตรกรรม เจ้าของมีเพียงสิทธิในการครอบครองเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรเท่านั้น ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ใบจอง หรือ นส.2
หนังสือที่ทางราชการออกให้ประชาชนเพื่ออนุญาตให้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินเป็นการชั่วคราว ซึ่งผู้ที่มีใบจองต้องทำประโยชน์ในพื้นที่ดินมากกว่า 75% ของที่ดิน ภายใน 6 เดือนหลังได้รับใบจองและจะต้องทำประโยชน์แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 3 ปี

สิทธิทำกิน หรือ สทก.
หนังสือที่ราชการออกให้เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิทำกินในพื้นที่เขตป่าไม้ ซึ่งทางกรมป่าไม้จะเป็นผู้ออกให้ โดยผู้ถือสิทธิ์จะต้องทำประโยชน์ โดยกรมป่าไม้สามารถยึดคืนพื้นที่ดินได้ทันทีหากปล่อยรกร้างติดต่อกันเกิน 2 ปี

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5
ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ของผู้ที่อยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์ในพื้นที่มาแต่เดิม ไม่ใช่เอกสารสิทธิแสดงการครอบครองที่ดิน ที่ดินลักษณะนี้มักเป็นที่ดินมือเปล่า ที่ไม่มีเอกสารสิทธิใดๆทั้งสิ้น เป็นลักษณะของการอยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์สืบทอดกันมาเป็นรุ่นต่อรุ่น แต่จะไม่มีสิทธิในการครอบครองที่ดิน เจ้าของที่ดินตัวจริงคือ รัฐ

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5
หนังสือที่แสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือแสดงสิทธิ์ที่ดินและให้จดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรมในใบไต่สวนได้ ไม่ใช่หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ แต่สามารถจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายที่ดิน และโอนให้กันได้ถ้าที่ดินมีใบไต่สวนและมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเป็นการจดทะเบียนโอนมรดก

โฉนดที่ดินแบบใดสามารถซื้อ-ขายได้?
โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4 :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนอง หรือค้ำประกันได้ทั้งหมด ทำให้นิยมซื้อขายมากที่สุด และมีมูลค่าด้านราคาสูงที่สุด ราคาของโฉนด นส.4 มีราคาสูงเมื่อเทียบกับเอกสารชนิดอื่นๆ โดยหากมีการซื้อขาย ผู้ซื้อ-ผู้ขายจะต้องไปทำการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ของสำนักงานที่ดินเท่านั้น มิฉะนั้นจะถือ เป็นโมฆะ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ โดยเมื่อมีการสอบเขตแล้ว เจ้าของสามารถนำหลักฐานไปขออกโนดได้ทันทีไม่ต้องรอรังวัดติดประกาศ 30 วัน

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข :
สามารถซื้อ ขาย โอนได้ โดยการซื้อ-ขายจะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดินเข้ามาทำการรังวัดและติดประกาศเป็นระยะเวลา 30 วัน ถ้าไม่มีใครยื่นเรื่องขอคัดค้าน จึงจะสามารถทำเรื่องขอออกโฉนดได้

โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายไม่ได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้ โดยทายาทจะต้องทำเกษตรกรรมเท่านั้น หรือให้เช่าเพื่อการเกษตรได้

ใบจอง หรือ นส.2 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

สิทธิทำกิน หรือ สทก. :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

เป็นอย่างไรกันบ้างกับการทำความเข้าใจ 3 ข้อง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน สำหรับใครที่ถือโฉนดที่ดินไว้อย่าลืมเช็คว่าตัวเองถือเอกสารลักษณะใด เพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เต็มที่ หรือใครที่กำลังจะมองหาซื้อที่ดินก็อย่าลืมเช็คกันนะว่าที่ดินนั้นสามารถซื้อ-ขายได้หรือไม่เพื่อให้เรามีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของโดยปราศจากข้อพิพาทอีกด้วย หลังซื้อแล้ว ควรทำรั้วให้ชัดเจนเพื่อแสดงอาณาเขตบุกรุกที่ดิน

 

ที่มา kasetphan (https://kasetphan.com/land-titles-3-tips-before-buy-or-sell-land/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 10, 2024, 01:55:41 AM
พ่นกันสนิม!!จำเป็นจริงหรือ?
(https://www.masterusedcar.com/upload/image/article/715%20(17)_1528705023.jpg)
ในอดีตปัญหาเรื่องสนิมมักเป็นชวนสยองของเจ้าของรถ ทำให้เกิดวัฒนธรรมที่ว่าการซื้อรถใหม่ต้องพ่นกันสนิม แต่ในปัจจุบันเริ่มเลือนรางหายไป จะมีก็แต่คำถามที่ว่า จำเป็นจริงหรือต้องพ่นกันสนิม “รู้ก่อนเหยียบ” จึงขอนำทุกท่านมาไขปัญหาดังกล่าว

สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน ซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก
 
ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก

เป็นปฏิกิริยาที่พบเห็นได้ง่ายๆ กับสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ แต่จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ เมื่อมีเหล็กสัมผัสกับน้ำและความชื้น โดยจะค่อย ๆ สึกกร่อน กลายเป็นเหล็กออกไซด์ มีชื่อทางเคมีว่า ไฮเดรตเฟอริกออกไซด์ หรือที่เรารู้จักกันว่า สนิมเหล็ก มีลักษณะเป็นคราบสีแดง ซึ่ง สามารถหลุดออกออกไปได้ไม่ยากนัก ทำให้เนื้อเหล็กที่อยู่ชั้นในสามารถเกิดสนิมต่อจนกระทั่งหมดทั้งชิ้น กระบวนการเกิดสนิมค่อนข้างซับซ้อน โดยมีปัจจัยคือ น้ำและออกซิเจน ซึ่งมีอยู่ทั่วไปใน บรรยากาศโลก เหล็กจะเกิดสนิมเร็วขึ้นในบางสภาวะ เช่น สภาวะที่เป็นกรด ตามชายทะเลที่ไอเกลือเข้มข้น เป็นต้น

การป้องกันสนิมของผู้ผลิตรถยนต์

 หลังปี 1996 ผู้ผลิตรถยนต์ทุกรายหันมาให้ความสำคัญกับปัญหาสนิมอย่างจริงจัง สรรหาสารพัดวิธีเพื่อปกป้องรถไม่ให้เกิดสนิม โดยวิธียอดนิยม  เริ่มต้นด้วยการชุบสารฟอสเฟต ที่มีคุณสมบัติเด่นในเรื่องการเคลือบบนผิวเหล็กเป็นผลึกที่แข็งแรงสามารถช่วยปกป้องการเกิดอ๊อกไซด์บนผิวเหล็กแถมช่วยให้เนื้อสีเกาะตัวได้ดี จากนั้นนำไปอบไล่ความชื้นอีกรอบ ก่อนชุบเคลือบในบ่อสีด้วยกระแสไฟฟ้า เพื่อให้การป้องกันสนิมได้ทุกซอกทุกมุม สุดท้ายอบด้วยความร้อนอีกครั้ง ก่อนพ่นสีรองพื้นและสีจริงต่อไป
 
แต่สำหรับการพ่นสีใต้ท้องรถ เมื่อสีรองพื้นแห้งสนิทจะถูกพ่นด้วยสาร PVC เพื่อเป็นการป้องกันการกัดกร่อน และการกะเทาะหลุดล่อน จากการกระแทกของเศษหินหรือวัสดุต่าง ๆ  ซ้ำยังเป็นการช่วยลดเสียงรบกวนได้อีกด้วย  ทั้งนี้จากขั้นตอนต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ทุกเจ้ายืนยันว่าสามารถป้องกันการเกิดสนิมได้โดยไม่จำเป็นต้องพ่นกันสนิมอีก ยกเว้นรถยนต์ที่ใช้ริมทะเลเป็นประจำ หรือรถที่เกิดอุบัติเหตุ จนต้องเคาะพ่นสีใหม่ จึงควรพ่นกันสนิม
 
เทคนิคควรรู้

แม้ว่าการพ่นกันสนิมจะมีข้อดีที่สามารถป้องกันสนิมได้ก็จริงอยู่ แต่น้ำยาพ่นกันสนิมส่วนใหญ่จะมีส่วนผสมของ ปิโตรเคมี ในเกรด แอสฟัลท์ หรือยางมะตอย ซึ่งมีคุณสมบัติไม่พึงประสงค์ในการกัดและทำลายวัสดุที่เป็นยาง หรือมีส่วนผสมของยาง ดังนั้นหากผู้พ่นไม่ชำนาญหรือไม่ระวังอาจก่อให้เกิดความเสียหายกับวัสดุที่เป็นยาง อาทิ ยางหุ้มเพลา บู๊ช ปีกนก และชิ้นส่วนอื่น ๆ ได้
 
ต่างคนก็ต่างเหตุผลต่างความคิด ก็ลองชั่งใจกันดูครับว่า พ่นกันสนิม!!จำเป็นจริงหรือ?? คำตอบอยู่ที่คุณ…
โปรโมชั่นของคุณ รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/)

ขอบคุณข้อมูลจาก บริษัท มาสเตอร์ มอเตอร์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 10, 2024, 02:04:47 AM
ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
(https://cdn.chiangmainews.co.th/wp-content/uploads/2020/01/05032336/3-4.jpg-4-800x450.jpg)

หลายคนมีพื้นที่ดินว่างเปล่าที่เต็มไปด้วยวัชพืชนานาชนิดและไม่ได้จัดการอะไร ช่วงฤดูแล้งอย่างนี้หญ้าเริ่มเหี่ยวแห้ง มาจัดการพื้นที่รกร้างที่มีอยู่ แล้วมา ” ปลูกกล้วย ” กันดีกว่า
กล้วยเป็นผลไม้พื้นบ้านที่คนไทยรู้จักกันมานาน เพราะทุกส่วนของกล้วยทั้งลำต้น ใบ ดอก ผล เหง้า และยังขยายพันธุ์ง่ายด้วยการแบ่งหน่อ หรือผ่าเหง้าไปปลูกต่อ จึงพบกล้วยขึ้นอยู่ทั่วไปในบ้านเรา และเป็นผลไม้ที่ไม่ค่อยมีใครให้ความสำคัญกันมากนัก ทั้ง ๆ ที่กล้วยมีประโยชน์มากมาย

ช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา ผลกล้วยน้ำว้ามีราคาสูงขึ้น เนื่องจากมีการปลูกลดลง อีกทั้งสภาพแห้งแล้ง ทำให้หลายคนหันกลับมาปลูกกล้วยเป็นอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครอบครัว แต่การปลูกอย่างไรให้ได้ผลผลิตดีๆ มาเรียนรู้กัน
(https://cdn.pic.in.th/file/picinth/banana07-1.jpeg)
สิ่งแรกที่ควรคำนึงถึงคือ “สภาพพื้นที่และดินในบริเวณนั้น” แม้ว่ากล้วยจะเป็นพืชที่ทนทาน แต่การปลูกกล้วยให้ได้ผลผลิตที่ดี ดินปลูกควรมีอินทรีย์วัตถุและความชุ่มชื้นเพียงพอ “แสงแดด” เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ต้องคำนึงถึง กล้วยชอบแสงแดดจัด หากพื้นที่ดีแต่แสงแดดน้อยมักไม่ออกเครือ หรือคุณภาพผลผลิตไม่ดีพอ
(https://cdn.pic.in.th/file/picinth/banana12.jpeg)
นอกจากนี้ “น้ำ” ก็เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการปลูกกล้วย แม้กว่ากล้วยเป็นพีชที่กักเก็บน้ำในลำต้นได้ดี แต่ถ้าได้รับน้ำไม่เพียงพอ ต้นจะเติบโตได้ไม่ดีนัก จึงควรติดตั้งระบบให้น้ำไว้บ้างเพื่อต้นกล้วยเติบโตอย่างสมบูรณ์ ให้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ
 รั้วตาข่าย (https://kasetphan.com/fences/) รั้วแรงดึง (https://kasetphan.com/fences/)
ลวดหนาม (https://kasetphan.com/types-of-barbed-wire/) จำหน่ายลวดหนามหลากหลายประเภท คุณภาพดี ราคาประหยัด
ตาข่ายถัก (https://kasetphan.com/product/kaset-light-120cm/) จำหน่ายตาข่ายถักหลากหลายประเภท แข็งแรงทนทาน ติดตั้งง่าย
ที่มา


ทีมา baanlaesuan.com (http://baanlaesuan.com)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 10, 2024, 02:48:54 AM
**ทำสวนปลูกผัก ความสุขง่ายๆ ใกล้ตัว**
(https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2021/09/15-12-1024x576.jpg)
การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ผู้คนหันมาสนใจปลูกผักเองมากขึ้น เพราะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักและได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน อีกทั้งการปลูกผักยังเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจอีกด้วย

**ประโยชน์ของการปลูกผัก**

การปลูกผักมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **ได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน** ผักที่ปลูกเองนั้นไม่มีสารเคมีตกค้าง จึงปลอดภัยต่อสุขภาพมากกว่าผักที่ซื้อจากตลาด
* **ช่วยลดค่าใช้จ่าย** การปลูกผักเองนั้นสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักได้ โดยเฉพาะผักที่มีราคาแพง
* **ได้ออกกำลังกาย** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย จึงช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
* **เป็นการพักผ่อนหย่อนใจ** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลายความเครียด

**วิธีการทำสวนปลูกผัก**

การทำสวนปลูกผักสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

1. **เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม** พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
2. **เตรียมดิน** ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
3. **เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม** เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
4. **หว่านหรือปลูกเมล็ด** หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
5. **รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ** รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช

**ผักที่ปลูกง่าย**

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

**เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก**

* ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
* ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
* ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
* ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
* ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

การทำสวนปลูกผักเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (http://"https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")
ลวดหนามกันสนิม (http://"https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 10, 2024, 02:57:01 AM
**ดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอ**
(https://img.kapook.com/u/2023/Jarosphan/Home/Garden/55317/g04.jpg)
สวนหลังบ้านเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้

**1. รู้จักเครื่องมือและเลือกใช้ให้เหมาะสม**

เครื่องมือสำหรับดูแลสวนหลังบ้านมีหลายชนิด เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่ง จอบและเสียม ถังรดน้ำ เป็นต้น ควรเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการทำ เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่งสำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ จอบและเสียมสำหรับพรวนดิน ถังรดน้ำสำหรับรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

**2. รดน้ำต้นไม้อย่างสม่ำเสมอ**

ปริมาณน้ำที่ต้นไม้ต้องการขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ สภาพอากาศ และขนาดของต้นไม้ โดยทั่วไปควรรดน้ำต้นไม้วันละ 1-2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็น

**3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้**

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/hinge-joint/")รั้วลวดหนาม (http://"www.ruataewada.com/products/barbed-wire/")
รั้วตาข่าย (https://www.ruataewada.com/products/hinge-joint/)
ลวดหนามกันสนิม (https://www.ruataewada.com/products/barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 10, 2024, 03:18:58 AM
ภาษีที่ดินคืออะไร

ภาษีที่ดินคือภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ภาษีที่ดินมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเก็บรายได้เพื่อนำมาใช้พัฒนาท้องถิ่นและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน
(https://www.kwilife.com/public/uploads/blog/images/a1414104e13278cbe6b2210a0c4002c4.jpg)
ใครต้องเสียภาษีที่ดิน

บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง มีหน้าที่เสียภาษีที่ดิน ยกเว้นที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่จะได้รับยกเว้นตามประกาศกระทรวงการคลัง

อัตราภาษีที่ดิน

อัตราภาษีที่ดินแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่

ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม อัตราภาษี 0.01%
ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย อัตราภาษี 0.02%
ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม อัตราภาษี 0.03%
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า อัตราภาษี 0.05%
วิธีการคิดคำนวณภาษีที่ดิน

ภาษีที่ดินคำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง โดยนำราคาประเมินทุนทรัพย์มาคูณด้วยอัตราภาษี ตัวอย่างเช่น ที่ดินมีราคาประเมินทุนทรัพย์ 10 ล้านบาท อัตราภาษี 0.02% ภาษีที่ดินที่ต้องชำระจึงเท่ากับ 10 ล้านบาท x 0.02% = 2,000 บาท

การชำระภาษีที่ดิน

ภาษีที่ดินจะต้องชำระภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป หากชำระล่าช้าจะต้องเสียเบี้ยปรับร้อยละ 1.5 ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ

การขอลดหย่อนภาษีที่ดิน

เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีรายได้น้อย สามารถขอลดหย่อนภาษีที่ดินได้ โดยจะต้องมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด เช่น มีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี มีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีราคาประเมินทุนทรัพย์ไม่เกิน 1 ล้านบาท เป็นต้น

การอุทธรณ์ภาษีที่ดิน

หากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างไม่เห็นด้วยกับการประเมินราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง สามารถยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการประเมินราคาประเมินทุนทรัพย์ได้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน

สรุป

ภาษีที่ดินเป็นภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง เพื่อนำมาใช้พัฒนาท้องถิ่นและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างมีหน้าที่เสียภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนด โดยสามารถขอลดหย่อนภาษีได้หากมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
หัวข้อ: Re: ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ พฤษภาคม 10, 2024, 03:31:26 AM
สนิมเกิดจากอะไร
(https://www.chi.co.th/files/2020/02/chi.co.th_1005764.jpg)
สนิม (rust) คือ กระบวนการทางเคมีที่เหล็กทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ทำให้เกิดสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า เฟอริกออกไซด์ (Fe2O3) มีลักษณะเป็นคราบสีน้ำตาลแดงเกาะอยู่บนผิวเหล็ก สนิมเป็นสาเหตุที่ทำให้เหล็กเสื่อมสภาพ เปราะบาง และสูญเสียความแข็งแรง

กระบวนการเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

เหล็กสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจนในอากาศ
อิเล็กตรอนที่เหล็กสูญเสียไปจะรวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นโมเลกุลของน้ำ
โมเลกุลของน้ำจะรวมตัวกับอะตอมเหล็กที่สูญเสียอิเล็กตรอนกลายเป็นสารประกอบเฟอริกออกไซด์
ปัจจัยที่เร่งให้เกิดสนิม ได้แก่

ความชื้นในอากาศ ยิ่งความชื้นในอากาศสูง สนิมก็จะเกิดขึ้นเร็วขึ้น
อุณหภูมิ ยิ่งอุณหภูมิสูงขึ้น สนิมก็จะเกิดขึ้นเร็วขึ้นเช่นกัน
สารเคมีบางชนิด เช่น เกลือ กรด ด่าง ก็สามารถเร่งให้เกิดสนิมได้
วิธีป้องกันสนิม ได้แก่

ทาสีหรือเคลือบผิวเหล็กเพื่อป้องกันไม่ให้ความชื้นและออกซิเจนสัมผัสกับผิวเหล็ก
เก็บเหล็กไว้ในที่แห้งและเย็น
หลีกเลี่ยงการใช้เหล็กในบริเวณที่มีความชื้นหรือสารเคมี
สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับวัสดุที่ทำจากเหล็ก หากไม่ป้องกันสนิม สนิมจะกัดกร่อนเหล็กจนเหล็กเสื่อมสภาพและอาจทำให้โครงสร้างหรืออุปกรณ์เสียหายได้
โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย (https://vinemanfence.com/) ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)
ลวดหนาม (https://vinemanfence.com/)  รั้วลวดหนาม  (https://vinemanfence.com/products/zinc-aluminum-barbed-wire/)