รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ลงประกาศฟรี => บ้านและที่ดิน => ข้อความที่เริ่มโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 13, 2024, 09:47:15 AM

หัวข้อ: เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 13, 2024, 09:47:15 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (http://"https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/")
หัวข้อ: Re: เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 14, 2024, 10:19:06 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (http://"https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/")
หัวข้อ: Re: เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 15, 2024, 04:13:55 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (http://"https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/")
หัวข้อ: Re: เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
เริ่มหัวข้อโดย: ruataewada ที่ มีนาคม 20, 2024, 04:13:03 AM
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/Change-Alro-to-Title-Deed-How-and-Check-Right-1024x536.jpg)
รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/14.jpg)
ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/13.jpg)
วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
(https://www.ruataewada.com/wp-content/uploads/2024/01/15.jpg)
สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/ (http://"https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/")